วันพุธที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

การบริหารจัดการในชั้นเรียน







การบริหารจัดการในชั้นเรียน
การเตรียมตนเองของครูแกนนำเพื่อเป็นครูต้นแบบ
ตอนที่ 1 เกณฑ์การประเมินนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
1.ความเป็นนวัตกรรม
วิธีการ กระบวนการใหม่
2. กระบวนการพัฒนานวัตกรรม
2.1 วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการพัฒนานวัตกรรม
2.2 การใช้หลักการ แนวคิด หรือทฤษฏีในการพัฒนานวัตกรรม
2.3 การออกแบบพัฒนานวัตกรรม
2.4 กระบวนการพัฒนานวัตกรรม
2.5 การมีส่วนร่วมในการพัฒนานวัตกรรม
2.6 ความสำเร็จของการพัฒนานวัตกรรม การเตรียมตนเองของครูแกนนำเพื่อเป็นครูต้นแบบ
ตอนที่ 1 เกณฑ์การประเมินนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
1.ความเป็นนวัตกรรม
วิธีการ กระบวนการใหม่
2. กระบวนการพัฒนานวัตกรรม
2.1 วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการพัฒนานวัตกรรม
วัตถุประสงค์และเป้าหมายสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการ
มีความเป็นไปได้และสามารถวัดได้
การเตรียมตนเองของครูแกนนำเพื่อเป็นครูต้นแบบ
ตอนที่ 1 เกณฑ์การประเมินนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
2. กระบวนการพัฒนานวัตกรรม
2.2 การใช้หลักการ แนวคิด หรือทฤษฏีในการพัฒนานวัตกรรม
มีการสังเคราะห์หลักการ แนวคิด ทฤษฏี มาประยุกต์ใช้ได้สอดคล้องกับ
สภาพปัญหา หรือความต้องการในการพัฒนานวัตกรรมการเตรียมตนเองของครูแกนนำเพื่อเป็นครูต้นแบบ
2. กระบวนการพัฒนานวัตกรรม
2.3 การออกแบบพัฒนานวัตกรรม
มีการออกแบบนวัตกรรมที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาหรือความต้องการ
บริบท หลักการ แนวคิด ทฤษฏี ครอบคลุมกระบวนการพัฒนาและ
มีความเป็นไปได้ การเตรียมตนเองของครูแกนนำเพื่อเป็นครูต้นแบบ
ตอนที่ 1 เกณฑ์การประเมินนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
2. กระบวนการพัฒนานวัตกรรม
2.4 กระบวนการพัฒนานวัตกรรม
ดำเนินการพัฒนานวัตกรรมตามที่ออกแบบไว้ครบทุกขั้นตอน และ/หรือ
มีการปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การเตรียมตนเองของครูแกนนำเพื่อเป็นครูต้นแบบ
ตอนที่ 1 เกณฑ์การประเมินนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
2. กระบวนการพัฒนานวัตกรรม
2.5 การมีส่วนร่วมในการพัฒนานวัตกรรม
ผู้เกี่ยวข้องทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียนมีส่วนร่วมในการวางแผนการ
ดำเนินการประเมินและสรุปผล การเตรียมตนเองของครูแกนนำเพื่อเป็นครูต้นแบบ
ตอนที่ 1 เกณฑ์การประเมินนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
2. กระบวนการพัฒนานวัตกรรม
2.6 ความสำเร็จของการพัฒนานวัตกรรม
การพัฒนานวัตกรรมได้ดำเนินการเสร็จสิ้น มีการเผยแพร่และสร้างเครือข่าย 3.คุณค่าของนวัตกรรม
3.1 การแก้ปัญหาหรือพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
แก้ปัญหาหรือพัฒนาผู้เรียนได้ตรงตามวัตถุประสงค์
และเป้าหมาย เกิดประโยชน์อย่างกว้างขวาง
3.2 การใช้ทรัพยากรในการพัฒนานวัตกรรม
ประยุกต์ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในการพัฒนานวัตกรรม
ได้เหมาะสม คุ้มค่า และสอดคล้องกับบริบทของ
โรงเรียน 3.3 การเรียนรู้ร่วมกัน
กระบวนการพัฒนานวัตกรรมก่อให้เกิดประสบการณ์
และการเรียนรู้ร่วมกันทั้งโรงเรียน 3.4 การส่งเสริมให้เกิดกระบวนการ
นวัตกรรม/กระบวนการพัฒนานวัตกรรม ส่งเสริม
กระตุ้นให้ผู้พัฒนา/ผู้เกี่ยวข้องศึกษาค้นคว้าและแสวงหา
ความรู้เพิ่มเติม 3.5 การยอมรับ
เป็นที่ยอมรับของผู้เกี่ยวข้องทั้งในโรงเรียนและนอก
โรงเรียน 3.6 การนำไปใช้
ใช่ง่าย และสะดวกและมีขั้นตอนใช้ไม่ซับซ้อน
สามารถนำไปใช้ได้ดี
ตอนที่2. การพัฒนาเครือข่ายของครูแกนนำ
1. การบริการที่ดี
1.1 การปรับปรุงระบบบริการ
1.2 ความพึงพอใจของเครือข่ายหรือผู้เกี่ยวข้อง
2. การพัฒนาตนเองและเครือข่าย
2.1. การศึกษาค้นคว้าด้วยการเข้าประชุมอบรมทางวิชาการ
หรืออบรมสัมมนา หรือวิชาการอื่น ๆ
2.2 การรวบรวมและประมวลผลความรู้ในการพัฒนาเครือข่าย
และวิชาชีพ
2.3 การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นด้านวิชาการในเครือข่ายตอนที่2. การพัฒนาเครือข่ายของครูแกนนำ
1. การบริการที่ดี
1.1 การปรับปรุงระบบบริการ
มีการศึกษาความต้องการของเครือข่ายและนำข้อมูลมาปรับปรุง
และพัฒนาระบบบริการในเกือบทุกรายการอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่2. การพัฒนาเครือข่ายของครูแกนนำ
1. การบริการที่ดี
1.2 ความพึงพอใจของเครือข่ายหรือผู้เกี่ยวข้อง
มีเครือข่ายจำนวน 3 คนขึ้นไป มีความพึงพอใจในระดับมาก
2. การพัฒนาตนเองและเครือข่าย
2.1. การศึกษาค้นคว้าด้วยการเข้าประชุมอบรมทางวิชาการ
หรืออบรมสัมมนา หรือวิชาการอื่น ๆ
มีชั่วโมงเข้าประชุม อบรม สัมมนาไม่น้อยกว่า 20 ชั่วโมง/ปี
และมีการจัดทำเอกสารนำเสนอต่อที่ประชุม เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างน้อย
2 รายการต่อไป 2. การพัฒนาตนเองและเครือข่าย
2.2 การรวบรวมและประมวลผลความรู้ในการพัฒนาเครือข่าย
และวิชาชีพ
มีการสังเคราะห์ข้อมูลความรู้ จัดเป็นหมวดหมู่ ปรับปรุงให้ทันสมัย
รวบรวมองค์ความรู้สำคัญ เพื่อใช้ในการพัฒนางานอย่างต่อเนื่องตอนที่2. การพัฒนาเครือข่ายของครูแกนนำ
1. การบริการที่ดี
1.1 การปรับปรุงระบบบริการ
1.2 ความพึงพอใจของเครือข่ายหรือผู้เกี่ยวข้อง
2. การพัฒนาตนเองและเครือข่าย
2.1. การศึกษาค้นคว้าด้วยการเข้าประชุมอบรมทางวิชาการ
หรืออบรมสัมมนา หรือวิชาการอื่น ๆ
2.2 การรวบรวมและประมวลผลความรู้ในการพัฒนาเครือข่าย
และวิชาชีพ
2.3 การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นด้านวิชาการในเครือข่าย ตอนที่2. การพัฒนาเครือข่ายของครูแกนนำ
2. การพัฒนาตนเองและเครือข่าย
2.3 การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นด้านวิชาการในเครือข่าย
ได้ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในเครือข่าย เพื่อใช้ในการพัฒนางาน
อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง3. การทำงานเป็นทีม
3.1 การให้ความร่วมมือช่วยเหลือเครือข่าย
3.2 การแสดงบทบาทผู้นำหรือผู้ตามได้อย่างเหมาะสม
3.3 การปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และกลุ่มคนที่หลากหลาย
3.4 การเสริมแรงให้กำลังใจ ส่งเสริมสนับสนุนเครือข่าย
ในการปฏิบัติงาน 3. การทำงานเป็นทีม
3.1 การให้ความร่วมมือช่วยเหลือเครือข่าย
ให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือเครือข่าย อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง
3.2 การแสดงบทบาทผู้นำหรือผู้ตามได้อย่างเหมาะสม
แสดงบทบาทเป็นผู้นำ/ผู้ตามในการทำงานร่วมกับเครือข่าย
ได้อย่างเหมาะสมในทุกสถานการณ์
3.3 การปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และกลุ่มคนที่หลากหลาย
ใช้ทักษะการบริหารจัดการในการทำงานร่วมกับบุคคลหรือ
คณะบุคคลในหน่วยงานของตนหรือต่างหน่วยงานได้ทุกกลุ่ม
อย่างมีประสิทธิภาพในเกือบทุกสถานการณ์ 3.4 การเสริมแรงให้กำลังใจ ส่งเสริมสนับสนุนเครือข่าย
ในการปฏิบัติงาน
ให้เกียรติยกย่อง ชมเชย ให้กำลังใจเครือข่าย เพื่อร่วมงานใน
โอกาสต่าง ๆ อย่างเหมาะสมและทุกครั้ง คุณภาพการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูแกนนำ
การออกแบบการสอน
1.1 การออกแบบการสอนที่สอดคล้องกับหลักสูตรโรงเรียน
1.2 ความสามารถในการออกแบบการเรียนรู้
1.3 การนำผลการออกแบบการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
1.4 องค์ประกอบของแผนการสอน คุณภาพการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูแกนนำ
การออกแบบการสอน
1.1 การออกแบบการสอนที่สอดคล้องกับหลักสูตรโรงเรียน
กำหนดผลการเรียนรู้ที่เน้นการคิด
กำหนดผลการเรียนรู้ที่เน้นการคิดวิเคราะห์
ประยุกต์ริเริ่มได้สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่กำหนดในหลักสูตร
สถานศึกษาเหมาะสมกับสาระการเรียนรู้ความสามารถของผู้เรียน
กิจกรรมการเรียนรู้สะท้อนความสามารถตามผลการเรียนรู้อย่าง
ชัดเจนเป็นรูปธรรม
การประเมินผลต่อเนื่องมีสอดคล้องกับผลการเรียนรู้คุณภาพการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูแกนนำ
1.2 ความสามารถในการออกแบบการเรียนรู้
ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างหลากหลาย ส่งผลให้ผู้เรียน
ได้พัฒนาตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์
ประยุกต์ริเริ่มได้เหมาะสมกับวัยตรงตามความต้องการของผู้เรียน
และชุมชน ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกำหนดกิจกรรมการเรียนการสอน
และการวัดผลประเมินผลการเรียน 1.3 การนำผลการออกแบบการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
แผนการสอนที่ออกแบบสามารถนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
ได้จริง มีการปรับใช้ตามสถานการณ์อย่างเหมาะสมและเกิดผลตาม
ที่คาดหวัง มีการประเมินผลการออกแบบการเรียนรู้สม่ำเสมอ 1.4 องค์ประกอบของแผนการสอน
ออกแบบการเรียนรู้ทั้งในระดับหน่วยการเรียน แผนการสอนโดย
คำนึงถึงผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ระบุกิจกรรมการเรียนการสอน
สื่อ อุปกรณ์ การวัดผลประเมินผล ภาคผนวกมีใบงาน ใบความรู้
ที่ชัดเจนสอดคล้องกับองค์ประกอบคุณภาพของการจัดการเรียนการสอน
2. การบริหารจัดการในชั้นเรียน
2.1 การจัดสภาพและบรรยากาศของห้องเรียน
ให้เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
2.2 การจัดทำข้อมูลสารสนเทศและเอกสาร
ประจำชั้นเรียน/ประจำวิชาคุณภาพของการจัดการเรียนการสอน
2. การบริหารจัดการในชั้นเรียน
2.1 การจัดสภาพและบรรยากาศของห้องเรียน
ให้เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ห้องเรียนสะอาดเป็นระเบียบ
มีป้ายนิเทศ สื่อการเรียนรู้หรือมุมวิชาการสำหรับศึกษาค้นคว้าเป็นปัจจุบัน
บรรยากาศในห้องเรียนเน้นให้นักเรียนเกื้อกูลช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
การมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูกับนักเรียน
นักเรียนกระตือรือร้นในการเรียนและมีความสุขในการเรียน คุณภาพของการจัดการเรียนการสอน
2. การบริหารจัดการในชั้นเรียน
2.2 การจัดทำข้อมูลสารสนเทศและเอกสารประจำชั้นเรียน/ประจำวิชา
จัดทำข้อมูลสารสนเทศที่จำเป็นประจำห้องเรียน/วิชาได้ครบถ้วน ถูกต้อง
เป็นปัจจุบัน
มีการนำข้อมูลสารสนเทศไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนได้อย่างเต็มศักยภาพ
3. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
3.1 การนำเข้าสู่บทเรียน
3.2 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
3.2.1 ลำดับขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
3.2.2 การใช้สื่อการเรียนการสอน
3.2.3 การวัดผลประเมินผลการจัดการเรียนการสอน
3.2.4 พฤติกรรมการสอนของครู
3.3 การสรุปผลการเรียนการสอน
3. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
3.1 การนำเข้าสู่บทเรียน
มีการแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
มีกิจกรรมนำเข้าสู่บทเรียนโดยการเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ได้อย่างเหมาะสม
นักเรียนแสดงความสนใจที่จะเรียนรู้ต่อไปอย่างชัดเจน
3. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
3.2 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
3.2.1 ลำดับขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามลำดับขั้นตอนให้บรรลุวัตถุประสงค์
ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้โดยใช้สื่อ แหล่งเรียนรู้
ใช้วิธีการหาความรู้หลากหลายโดยนักเรียนลงมือปฏิบัติเอง
นักเรียนใช้กระบวนการกลุ่มเพื่อการเรียนรู้
นักเรียนมีการสร้างและสรุปความรู้ด้วยตนเอง
นักเรียนมีการประเมินผลและปรับปรุงข้อสรุปของความรู้
3. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอ
3.2 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอ
3.2.2 การใช้สื่อการเรียนการสอน
มีสื่อการเรียนการสอนที่นักเรียนมีส่วนร่วมในการคิด สร้างและใช้
เพื่อการสร้างความรู้ สรุปความรู้
นักเรียนมีการสร้างผลงาน/ชิ้นงาน
ครูใช้สื่อเป็นตัวกระตุ้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้หรือขยายความรู้
สื่อที่ครูและนักเรียนร่วมกันใช้เป็นสื่อที่ทำให้เกิดผลการเรียนรู้
3. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
3.2 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
3.2.3 การวัดผลประเมินผลการจัดการเรียนการสอน
มีการวัดผลประเมินผลนักเรียนเป็นรายบุคคล รายกลุ่ม ตามสภาพ
จริงโดยใช้วิธีการประเมินที่หลากหลาย
มีเครื่องมีอประเมินที่มีคุณภาพเหมาะสมกับเรื่องที่ประเมิน
3. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
3.2 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
3.2.4 พฤติกรรมการสอนของครู
ครูแสดงพฤติกรรมการสอนที่บ่งบอกถึงความเป็นมิตรกับนักเรียน
มีการใช้คำถามกระตุ้นให้นักเรียนคิดวิเคราะห์
เปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้
ส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้เต็มตามศักยภาพอย่างเหมาะสมเป็น
รายบุคคล
3. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
3.3 การสรุปผลการเรียนการสอน
จัดกิจกรรมให้นักเรียนได้สรุปความรู้ นำเสนอผลงาน/ชิ้นงาน
มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับคนกลุ่มอื่น
มีการประเมินเพื่อปรับปรุงผลงาน/ชิ้นงาน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น