จากที่เธอได้เรียนวิชาการจัดการชั้นเรียนโดยใช้WeblogหรือฺBlog ผู้เรียนเห็นว่าการใช้งานนี้มีจุดเด่นจุดด้อยอย่างไร ให้แสดงความคิดเห็นได้เต็มที่ เพื่อจะนำไปพัฒนาใช้ในโอกาสต่อไป แสดงความคิดเห็นให้ก่อนสอบจะเป็นคะแนนช่วยเพิ่มเติ่ม
จุดเด่นของWeblogหรือฺBlog
1.ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
2.ทำให้การเรียนการสอนดูน่าสนใจและมีความสุขกับการเรียนวิชาบริหารจัดการในชั้นเรียน
3.สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนให้ทันต่อโลกปัจจุบัน
4.Webblogเป็นการนำข้อมูลที่เราสนใจเก็บไว้ใน Blogของตัวเองแล้วสามารถเก็บไว้ใช้ในอนาคตได้
5.สามารถสร้างWebblog เป็นของตัวเอง
6.นำความรู้ที่ได้เก็บไว้ในWebblogมาใช้ในการสอนต่อไปและเหมาะสำหรับครูพันธุ์ใหม่
7.สามารถนำเอาออกมาใช้ได้ทุกที่ที่มีอินเตอร์เน็ต โดยไม่ต้องพาหนังสือ เพราะข้อมูลการเรียนการสอนอยู่ใน webblog แล้ว
จุดด้อยของWebblogหรือBlog
1.การใช้ webblog ในการเรียนรายวิชานี้ไม่ค่อยสอดคล้องกับเนื้อหาของรายวิชาที่เรียนควรสอนให้สอดคล้องกับวิชาที่เรียนให้มากกว่านี้
2.การส่งงานหรือการตกแต่ง Weblog ต้องใช้สัญญาณอินเตอร์เน็ตแต่ที่หอไม่ค่อยมีสัญญาณWirelessจึงไม่สะดวกในการทำงานและการส่งงานตามที่อาจารย์สั่ง
3.ทำให้เด็กเกิดความเบื่อหน่าย สำหรับคนที่ไม่มี notbook
วันอาทิตย์ที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
วันพุธที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
ข้อสอบ
ข้อที่ 1 กรณีที่เกิดความวุ่ยวายของบ้านเมืองโดยเฉพาะผู้นำประเทศที่ผ่านมา ท่านในฐานะเป็นครูพันธ์ใหม่ ท่านจะแสดงความคิดเห็น อดีตนายกทักษิณ ทั้งข้อดีและข้อเสียของท่าน หากพิจารณาข้อดีและข้อเสียท่านจะนำมาสอนให้ผู้เรียนเกิดความคิดที่จะเป็นผู้นำที่ดีได้อย่างไร
ตอบ ด้านที่ดิฉันคิดนั้นส่วนใหญ่จะได้รับข่าวสารจากข่าวต่างๆนาๆว่ามันจะเกิดขึ้นได้อย่างไร แต่ถ้าเราคิดในทางที่ดีทักษิณนั้นเข้ามาเพื่อเหตุผลที่เราพูดถึงทักษิณเป็นเหตุความวุ่นวายที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ต่างฝ่ายต่างเรียกร้องหาความยุติธรรมให้เกิดกับบ้านเมืองแต่ว่าเราไม่รู้ เราไม่คิดเราไม่ลึกซึ้งว่าความจริงแล้วการเข้ามาเป็นผู้นำประเทศนั้นเขาเข้ามาเพื่อต้องการช่วยเหลือประเทศหรือว่ามาช่วยให้ประเทศเจริญรุ่งเรืองภายในประเทศ เลยการเข้ามาของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชิณวัตร นี้เข้ามาเพื่อช่วยเหลือในการบริหารประเทศ ในการบริหารประเทศเขาจะต้องเข้ามาโดยการเป็นส.ส. หรือว่าเป็นผู้นำประเทศ นายกรัฐมนตรี คือหัวหน้าพรรคโดยตามเกียรติ ตามประวัติแล้ว หัวหน้าพรรคก็มาเป็นนายกรัฐมนตรีและจะต้องผ่านการเลือกตั้ง โดยมีคะแนนสูงสุดในการเลือกตั้ง และจะต้องเป็นคนจัดตั้งรัฐบาล เมื่อเขาได้รับการคัดเลือกให้ผ่านการคัดเลือกจากประชาชน ซึ่งมีรัฐธรรมนูญปี 2540 บังคับใช้ เขาก็ได้จัดตั้งรัฐบาล พอได้จัดตั้งรัฐบาลคนที่ได้เป็นนายกก็คือ พ.ต.ท.ทักษิณ ชิณวัตร เมื่อเขาได้เป็นนายกเขาได้ไปเรียนรู้การบริหารบ้านเมือง คือจะต้องมีผู้นำประเทศที่เฉลียวฉลาด เก่งในทุกๆด้าน ทำให้การบริหารประเทศการตัดสินใจอะไรบางอย่างก็ต้องผ่านสภา ฝ่ายคณะรัฐมนตรี เราจะต้องฟังเสียงข้างมากในการบริหารประเทศ ครั้งนี้การบริหารประเทศของรัฐธรรมนูญปี2540 ทักษิณก็แล้วว่าจะต้องผ่านการยกมือ หรือว่าผ่านมติในที่ประชุม ทักษิณก็เลยมองไปว่า ถ้ารัฐบาลมีความมั้นคงในประเทศหรือว่ามีเสียงข้างมากก็จะต้องบริหารประเทศโดยดี ทำให้รัฐบาลมีเสถียรภาพ สิ่งที่เรามองเห็นว่าเขาได้ชักชวนหรือไม่เขาก็ซื้อหรือการใช้เงินตรา ประการที่เขาได้มาจากพรรคอื่น มาอยู่ในพรรคตัวเอง เช่น พรรคความหวังใหม่ หรือพรรคอื่นๆ ก็ได้ยุบตัวเข้ามาอยู่ในพรรค จากพรรคที่ได้คะแนนกำกึ่งกับคนอื่น เป็นพรรคที่มีขนาดใหญ่ ซึ่งมี ส.ส. หลายๆจังหวัด และเป็นส.ส.เสียงข้างมาก และก็ให้รัฐบาลมีความมั่นคงในการบริหารประเทศ เราจะต้องทำมาให้ได้ซึ่งรายได้ที่ได้รับ เราจะต้องผันเงินให้เกิดการเคลื่อนตัว เพื่อให้เกิดการลงทุน การทำงาน การวิ่งของเครื่องจักร การเงิน ทางเศรษฐกิจใครบ้างจะปฏิเสธว่าการบริหารประเทศภายใต้ พ.ต.ท.ทักษิณ ชิณวัตร ผิดพลาดตรงไหน อย่างไร ยอมรับในการทำธุรกิจ คนที่มีเงินก็สามารถที่จะลงทุนได้มาก ทำให้การพัฒนาของประเทศมีการยอมรับกับคนที่มีเงิน คนที่มีเงินเท่านั้นที่จะนำมาซึ่งความเจริญก้าวหน้า การบริหารประเทศคือการลงทุน การทำงาน ถ้าเรามองไปด้านเศรษฐกิจ
ถ้าเรามองไปด้านการปกครองเราจะต้องยอมรับ เราจะให้คนอื่นซึ่วฃงเป็นหน่วยงานอื่นมาตัดสินผู้นำประเทศ ซึ่วมีประชาชน 60 กว่าล้านคนเลือกขึ้นมา ป.ป.ช. ปปง. พวกนี้ไม่รู้มาจากไหน หรือใครแต่งตั้งขึ้นมา แล้วมาให้ตรวจสอบผู้นำประเทศที่ได้รับการแต่งตั้งจากพระเจ้าอยู่หัวและประชาชน มาตรวจสอบมาดูแลเป็นไปไม่ได้ในส่วนนี้
ดังนั้นคนส่วนใหญ่ก็มองว่าผู้นำประเทศจะต้องยอมรับในเสถียรภาพ
ด้านที่ดิฉันคิดนั้นส่วนใหญ่จะได้รับข่าวสารจากข่าวต่างๆนาๆว่ามันจะเกิดขึ้นได้อย่างไร แต่ถ้าเราคิดในทางที่ดีทักษิณนั้นเข้ามาเพื่อเหตุผลที่เราพูดถึงทักษิณเป็นเหตุความวุ่นวายที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ต่างฝ่ายต่างเรียกร้องหาความยุติธรรมให้เกิดกับบ้านเมืองแต่ว่าเราไม่รู้ เราไม่คิดเราไม่ลึกซึ้งว่าความจริงแล้วการเข้ามาเป็นผู้นำประเทศนั้นเขาเข้ามาเพื่อต้องการช่วยเหลือประเทศหรือว่ามาช่วยให้ประเทศเจริญรุ่งเรืองภายในประเทศ เลยการเข้ามาของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชิณวัตร นี้เข้ามาเพื่อช่วยเหลือในการบริหารประเทศ ในการบริหารประเทศเขาจะต้องเข้ามาโดยการเป็นส.ส. หรือว่าเป็นผู้นำประเทศ นายกรัฐมนตรี คือหัวหน้าพรรคโดยตามเกียรติ ตามประวัติแล้ว หัวหน้าพรรคก็มาเป็นนายกรัฐมนตรีและจะต้องผ่านการเลือกตั้ง โดยมีคะแนนสูงสุดในการเลือกตั้ง และจะต้องเป็นคนจัดตั้งรัฐบาล เมื่อเขาได้รับการคัดเลือกให้ผ่านการคัดเลือกจากประชาชน ซึ่งมีรัฐธรรมนูญปี 2540 บังคับใช้ เขาก็ได้จัดตั้งรัฐบาล พอได้จัดตั้งรัฐบาลคนที่ได้เป็นนายกก็คือ พ.ต.ท.ทักษิณ ชิณวัตร เมื่อเขาได้เป็นนายกเขาได้ไปเรียนรู้การบริหารบ้านเมือง คือจะต้องมีผู้นำประเทศที่เฉลียวฉลาด เก่งในทุกๆด้าน ทำให้การบริหารประเทศการตัดสินใจอะไรบางอย่างก็ต้องผ่านสภา ฝ่ายคณะรัฐมนตรี เราจะต้องฟังเสียงข้างมากในการบริหารประเทศ ครั้งนี้การบริหารประเทศของรัฐธรรมนูญปี2540 ทักษิณก็แล้วว่าจะต้องผ่านการยกมือ หรือว่าผ่านมติในที่ประชุม ทักษิณก็เลยมองไปว่า ถ้ารัฐบาลมีความมั้นคงในประเทศหรือว่ามีเสียงข้างมากก็จะต้องบริหารประเทศโดยดี ทำให้รัฐบาลมีเสถียรภาพ สิ่งที่เรามองเห็นว่าเขาได้ชักชวนหรือไม่เขาก็ซื้อหรือการใช้เงินตรา ประการที่เขาได้มาจากพรรคอื่น มาอยู่ในพรรคตัวเอง เช่น พรรคความหวังใหม่ หรือพรรคอื่นๆ ก็ได้ยุบตัวเข้ามาอยู่ในพรรค จากพรรคที่ได้คะแนนกำกึ่งกับคนอื่น เป็นพรรคที่มีขนาดใหญ่ ซึ่งมี ส.ส. หลายๆจังหวัด และเป็นส.ส.เสียงข้างมาก และก็ให้รัฐบาลมีความมั่นคงในการบริหารประเทศ เราจะต้องทำมาให้ได้ซึ่งรายได้ที่ได้รับ เราจะต้องผันเงินให้เกิดการเคลื่อนตัว เพื่อให้เกิดการลงทุน การทำงาน การวิ่งของเครื่องจักร การเงิน ทางเศรษฐกิจใครบ้างจะปฏิเสธว่าการบริหารประเทศภายใต้ พ.ต.ท.ทักษิณ ชิณวัตร ผิดพลาดตรงไหน อย่างไร ยอมรับในการทำธุรกิจ คนที่มีเงินก็สามารถที่จะลงทุนได้มาก ทำให้การพัฒนาของประเทศมีการยอมรับกับคนที่มีเงิน คนที่มีเงินเท่านั้นที่จะนำมาซึ่งความเจริญก้าวหน้า การบริหารประเทศคือการลงทุน การทำงาน ถ้าเรามองไปด้านเศรษฐกิจ
ถ้าเรามองไปด้านการปกครองเราจะต้องยอมรับ เราจะให้คนอื่นซึ่วเป็นหน่วยงานอื่นมาตัดสินผู้นำประเทศ ซึ่งมีประชาชน 60 กว่าล้านคนเลือกขึ้นมา ปปช. ปปง. พวกนี้ไม่รู้มาจากไหน หรือใครแต่งตั้งขึ้นมา แล้วมาให้ตรวจสอบผู้นำประเทศที่ได้รับการแต่งตั้งจากพระเจ้าอยู่หัวและประชาชน มาตรวจสอบมาดูแลเป็นไปไม่ได้ในส่วนนี้
ดังนั้นคนส่วนใหญ่ก็มองว่าผู้นำประเทศจะต้องยอมรับในเสถียรภาพของเขาในภายใต้รัฐธรรมนูญปี2540 ถ้าหากเขาไม่ได้ทำการผิดในภายใต้รัฐธรรมนูญปี2540 เขาก็ได้รับความถูกต้องต่อไปโดยมีศาลเป็นผู้ตัดสิน และในขณะเดียวกันเราต้องยอมรับข้อดีของท่าน ข้อดีของการบริหารแบบเบ็ดเสร็จ คือการทำโครงงาน โครงการต่างๆ กล้าคิดกล้าทำ กล้าตัดสินใจได้เลยโดยผ่าน ครม. รัฐสภาได้ง่าย และเป็นไปได้อย่างราบรื่นและรุ่งเรืองหรือว่าไม่รุ่งเรืองก็ว่ากันไปตามกฎ ตามระเบียบของการบริหารประเทศ แต่ในข้อเสียก็คือ การใช้อำนาจในทางที่ผิดหรือเบ็ดเสร็จ ไม่รู้จักฟังเหตุ ฟังผลของฝ่ายค้าน ทำให้เกิดปัญหาขึ้น อย่างไรก็ตามหลักสำคัญอยู่ที่การบริหารประเทศให้มี่ความเจริญรุ่งเรืองประชาชนมีความสุขความเจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงาน มีเงินทอง มีทุกอย่างที่ประชาชนต้องการ
ในกรณีที่เกิดความวุ่นวายในยุคที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชิณวัตร เป็นนายก ในสมัยแรกจะไม่มีความความวุ่นวาย สมัยต่อมาเกิดความวุ่นวาย เพราะได้รับผลได้ ผลเสีย หรือการขัดผลประโยชน์ของผู้นำหรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ดังนั้นการขัดผลประโยชน์นี้เขาก็มองลึกซึ้งแล้ว ถ้าไม่กระทำแบบนี้ไม่พยายามก็มวลชน ให้เกิดสถานการอย่างนี้ ซึ่งใช้รัฐธรรมนูญปี2540 สามารถที่จะโค่นล้ม พ.ต.ท.ทักษิณ ชิณวัตร ลงจากตำแหน่งได้ และจะต้องใช้มวลชนในการก่อความไม่สงบ ซึ่งจะเห็นในปัจจุบันนี้ที่กำลังทำอยู่ก็คือ กำลังแข่งขันกีฬาสี เสื้อเหลือง แดง น้ำเงิน หรือว่าสีขาว ซึ่งถามว่ากรณีที่เกิดความวุ่นวายครั้งนี้ เกิดจาก พ.ต.ท.ทักษิณ ชิณวัตรหรือไม่ ใครบ้างจะตอบได้เต็มปากเต็มคำ ก็เสื้อเหลืองไง และใครที่จะตอบได้ว่าความวุ่นวายนี้เกิดจากเสื้อเหลือง ก็สีแดงไงที่ตอบได้
ถามว่าผลดี ผลร้ายของการเกิดความวุ่นวาย ต้องยอมรับว่าประเทศชาติเกิดความวุ่นวายอย่างแน่นอนดังนั้นถ้าจะไปบอกกับครูพันธ์ใหม่ ในการสอนผู้เรียนที่จะเกิดความเป็นผู้นำที่ดีได้ การเป็นผู้นำเราจะต้องยอมรับ และมีอำนาจในการตัดสินใจ โดยฟังความจากผู้อื่น นั้นคือผู้นำที่ได้ผ่านการคัดเลือกอย่างประชาธิปไตย เสียงข้างมากเราต้องยอมรับในทัศนะที่เราทำงานอยู่ แต่เราต้องทำงานอยู่บนพื้นฐานของส่วนรวม
ข้อที่ 2 การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนที่จะให้มีประสิทธิภาพท่านจะมีวิธีคิดอย่างไรหากท่านเป็นครูที่ดีควรเตรียมการเป็นที่ครูที่ดีอย่างไรให้ท่านแสดงความคิดเห็นของท่านเอง
ตอบ ดิฉันคิดว่าการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นที่ผู้เรียนเป็นสำคัญ จะช่วยพัฒนาผู้เรียนในทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา ทั้งด้านความรู้ ทักษะและเจตคติ (ลักษณะนิสัย) และทั้งด้าน IQ (Intelligence Quotient) และด้าน EQ (Emotional Quotient) ซึ่งจะนำไปสู่ความเป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุข
ความสำคัญด้วยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 โดยเฉพาะในหมวดที่ 4 แนวทางการจัดการศึกษา มาตรา 22 ได้กล่าวไว้ว่า
“การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ”
ดังนั้นดิฉันคิดว่าผู้สอนทุกคนจึงจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนบทบาทของตนเองจากการเป็นผู้บอกความรู้ให้จบไปในแต่ละครั้งที่เข้าสอนมาเป็นผู้เอื้อ อำนวยความสะดวก(Facilitator)ในการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนกล่าวคือเป็นผู้กระตุ้นส่งเสริมสนับสนุนจัดสิ่งเร้าและจัดกิจกกรมให้ผู้เรียน เกิดการพัฒนาให้เต็มตามศักยาภาพ ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของแต่ละบุคคล การจัดกิจกรรมจึงต้องเป็นกิจกรรมที่ ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ สร้างสรรค์ศึกษาและค้นคว้าได้ลงมือปฏิบัติจนเกิดการเรียนรู้และค้นพบความรู้ด้วยตนเองเป็นสาระ ความรู้ ด้วยตนเอง รักการอ่าน รักการเรียนรู้อันจะนำไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต(Long-life Education) และเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ (Learning Man ) ผู้สอนจึงต้องสอนวิธีการแสวงหาความรู้ (Learn how to learn ) มากกว่าสอนตัวความรู้ สอนการคิดมากกว่าสอนให้ท่องจำสอนโดยเน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ มากกว่าเน้นที่เนื้อหาวิชา
ต้องปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ใหม่จากการเอาวิชาเป็นตัวตั้งไปสู่การเอาคนและสถานการณ์จริงเป็นตัวตั้ง เรียนจาก ประสบการณ์และกิจกรรม จากการฝึกหัดจากการตั้งคำถามและจากการแสวงหาคำตอบซึ่งจะทำให้สนุก ฝึกปัญญาให้ ้กล้าแข็ง ทำงานเป็น ฝึกคุณลักษณะอื่น ๆ เช่น ความอดทน ความรับผิดชอบ การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน การรวมกลุ่ม การจัดการ การรู้จักตน
จึงเห็นได้ว่า “การสอนโดยเน้นที่ผู้เรียนเป็นสำคัญ จะช่วยพัฒนาผู้เรียนในทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา ทั้งด้านความรู้ทักษะ และเจตคติ (ลักษณะนิสัย) และทั้งด้าน IQ (Intelligence Quotient) และด้าน EQ (Emotional Quotient) ซึ่งจะนำไปสู่ความเป็น คนเก่ง คนดีและความสุข”ตามเป้าหมายการจัดการศึกษาในปัจจุบัน
การเตรียมการเป็นครูที่ดี
1เป็นผู้มีความรอบรู้ดี การเป็นผู้มีความรอบรู้
2. เป็นผู้มีอารมณ์ขัน การเป็นผู้มีอารมณ์ขัน
3. การเป็นผู้มีความยืดหยุ่น หมายถึง การเป็นผู้ที่มีความรู้สึกไวต่อการเปลี่ยนแปลงแก้ไขปรับเปลี่ยน
4. เป็นผู้มีวิญญาณครู บุคคลที่มีวิญญาณครูโดยแท้จริงแล้ว จะเป็นผู้ที่มีความ รักในตัวเด็กและยินดีในภารกิจทางการสอน
5. เป็นผู้มีความซื่อสัตย์ การมีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นคุณลักษณะที่สำคัญมากสำหรับคนทุกคนโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่เป็นครูอาจารย์ ครูอาจารย์ที่มีความซื่อสัตย์จริงใจเมื่อบอกนักเรียนว่าจะทำอะไรก็จะพยายามทำสิ่งนั้นให้สำเร็จ
6. เป็นผู้สามารถทำให้เข้าใจได้รวบรัดชัดเจน
7. เป็นคนเปิดเผย การเป็นเปิดเผย คือ การเป็นคนที่เต็มใจจะเปิดเผยเรื่องราวที่ตนมีอยู่ให้ผู้อื่นรับรู้ ครูอาจารย์ที่เปิดเผยสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตของตนเพื่อแสดงเป็นตัวอย่างหรือเปิดเผยความรู้สึกในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือในสถานการณ์ที่กำหนด
8. เป็นผู้มีความอดทน
9. เป็นผู้กระทำตนเป็นแบบอย่างที่ดีงาม ครูอาจารย์ควรเป็นบุคคลที่กระทำตนให้เป็นแบบอย่างที่ดีเป็นพิเศษ
10. เป็นผู้ที่มีความสามารถนำความรู้ทางทฤษฎีไปปฏิบัติได้
11. เป็นผู้มีความเชื่อมั่นในตนเอง
12. เป็นผู้มีความสามารถพิเศษในศิลปะและวิทยาการหลายๆ ด้าน
ข้อที่ 3 ในฐานะท่านเป็นครูพันธ์ใหม่ ท่านจะนำนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนมาใช้การเรียนการสอนแบบใหม่ได้อย่างไร
ตอบ ดิฉันคิดว่าความสำคัญของนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน ก็คือ สามารถนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในวงการศึกษาสรุปได้ ดังนี้
- การสร้างGspเพื่อใช้ในการเรียนการสอน
- การใช้งานของมัลติมิเดีย เช่น การสร้างรูปทรงทางเรขาคณิต รูปสามเหลี่ม สี่เหลี่ยมต่างๆ
- มีการเรียนรู้ทาง web blog เพื่อให้ทันสมัย
1. เพื่อนำนวัตกรรมมาใช้แก้ปัญหาในเรื่องการเรียนการสอน เช่น
1.1 ปัญหาเรื่องวิธีการสอน ปัญหาที่มักพบอยู่เสมอ คือ ครูส่วนใหญ่ยังคง
ยึดรูปแบบการสอนแบบบรรยาย โดยมีครูเป็นศูนย์กลางมากกว่าการสอนในรูปแบบอื่น การสอนด้วยวิธีการแบบนี้เป็นการสอนที่ขาดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในบั้นปลาย เพราะนอกจากจะทำให้นักเรียนเกิดความเบื่อหน่าย ขาดความสนใจแล้ว ยังเป็นการปิดกั้นความคิด และสติปัญญาของผู้เรียนให้อยู่ในขอบเขตจำกัดอีกด้วย
1.2 ปัญหาด้านเนื้อหาวิชา บางวิชาเนื้อหามาก และบางวิชามีเนื้อหาเป็น
นามธรรมยากแก่การเข้าใจ จึงจำเป็นจะต้องนำเทคนิคการสอนและสื่อมาช่วย
1.3 ปัญหาเรื่องอุปกรณ์การสอน บางเนื้อหามีสื่อการสอนเป็นจำนวนน้อย
ไม่เพียงพอต่อการนำไปใช้ เพื่อทำให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชาได้ง่ายขึ้นจึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาคิดค้นหาเทคนิควิธีการสอน และผลิตสื่อการสอนใหม่ ๆ เพื่อนำมาใช้ทำให้การเรียนการสอนบรรลุเป้าหมายได้ 2. เพื่อนำนวัตกรรมไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและเป็นประโยชน์ต่อการศึกษา โดยการนำสิ่งประดิษฐ์หรือแนวความคิดใหม่ ๆ ในการเรียนการสอนนั้นเผยแพร่ไปสู่ครู – อาจารย์ท่านอื่น ๆ หรือเพื่อเป็นตัวอย่างอีกรูปแบบหนึ่งให้กับครู – อาจารย์ที่สอนในวิชาเดียวกัน ได้นำแนวความคิดไปปรับปรุงใช้หรือผลิตสื่อการสอนใหม่ ๆ เพื่อนำมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนต่อไป
ข้อที่ 4 การประกันคุณภาพมีความสำคัญต่อการบริหารจัดการในชั้นเรียนได้อย่างไร
ตอบ มีความสำคัญต่อการจัดการเรียนการสอนมีหลายๆรูปแบบ ทำให้ยกระดับหรือมาตรฐานโรงเรียนและได้มีการแข่งขันในการบริหารจัดการเรียนการสอนเพื่อต้องการมีการประกันคุณภาพที่ดีขึ้น ซึ่งส่งผลต่อเด็กนักเรียนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นด้วย และได้รับความไว้วางใจจากผู้ปกครองที่จะให้เด็กได้ไปเรียนในโรงเรียนที่ประกันคุณภาพ
ข้อที่ 5 ให้ผู้เรียนประเมินผู้สอนทั้งข้อดีข้อเสียและข้อเสนอแนะเพื่อที่จะนำไปปรับปรุงการเรียนการสอนต่อไป
ตอบ
ข้อดี
- ทำให้เด็กได้ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย
- ครูสอนให้เด็กสามารถใช้ web blog ในการเก็บข้อมูลต่างๆเพื่อใช้ในวันข้างหน้า เช่น การวิจัย
- ครูสอนให้เด็กได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
- ทำให้เด็กได้มีความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ web blog
ข้อเสีย
- เด็กฟังอาจารย์อธิบายไม่ทันในการเรียนการสอนในบางครั้ง
- เด็กที่ไม่มี notebook ทำให้เครียดในการสั่งงานของอาจารย์ เพราะรู้สึกว่าจะเรียนไม่ทันเพื่อน
- มีเวลาน้อยเกินไปในการทำงาน
- สัญญาณwirelessชอบหลุดทำให้การเรียนการสอนต้องติดขัด จึงทำให้ส่งงานล้าช้า
- อาจารย์สั่งงานเยอะ
ข้อเสนอแนะ
- อยากให้อาจารย์ไปสอนห้องที่มีคอมพิวเตอร์
- อยากให้ครูพานักศึกษาไปลงโรงเรียนเพื่อดูการจัดการเรียนการสอนในชีวิตจริง
ตอบ ด้านที่ดิฉันคิดนั้นส่วนใหญ่จะได้รับข่าวสารจากข่าวต่างๆนาๆว่ามันจะเกิดขึ้นได้อย่างไร แต่ถ้าเราคิดในทางที่ดีทักษิณนั้นเข้ามาเพื่อเหตุผลที่เราพูดถึงทักษิณเป็นเหตุความวุ่นวายที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ต่างฝ่ายต่างเรียกร้องหาความยุติธรรมให้เกิดกับบ้านเมืองแต่ว่าเราไม่รู้ เราไม่คิดเราไม่ลึกซึ้งว่าความจริงแล้วการเข้ามาเป็นผู้นำประเทศนั้นเขาเข้ามาเพื่อต้องการช่วยเหลือประเทศหรือว่ามาช่วยให้ประเทศเจริญรุ่งเรืองภายในประเทศ เลยการเข้ามาของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชิณวัตร นี้เข้ามาเพื่อช่วยเหลือในการบริหารประเทศ ในการบริหารประเทศเขาจะต้องเข้ามาโดยการเป็นส.ส. หรือว่าเป็นผู้นำประเทศ นายกรัฐมนตรี คือหัวหน้าพรรคโดยตามเกียรติ ตามประวัติแล้ว หัวหน้าพรรคก็มาเป็นนายกรัฐมนตรีและจะต้องผ่านการเลือกตั้ง โดยมีคะแนนสูงสุดในการเลือกตั้ง และจะต้องเป็นคนจัดตั้งรัฐบาล เมื่อเขาได้รับการคัดเลือกให้ผ่านการคัดเลือกจากประชาชน ซึ่งมีรัฐธรรมนูญปี 2540 บังคับใช้ เขาก็ได้จัดตั้งรัฐบาล พอได้จัดตั้งรัฐบาลคนที่ได้เป็นนายกก็คือ พ.ต.ท.ทักษิณ ชิณวัตร เมื่อเขาได้เป็นนายกเขาได้ไปเรียนรู้การบริหารบ้านเมือง คือจะต้องมีผู้นำประเทศที่เฉลียวฉลาด เก่งในทุกๆด้าน ทำให้การบริหารประเทศการตัดสินใจอะไรบางอย่างก็ต้องผ่านสภา ฝ่ายคณะรัฐมนตรี เราจะต้องฟังเสียงข้างมากในการบริหารประเทศ ครั้งนี้การบริหารประเทศของรัฐธรรมนูญปี2540 ทักษิณก็แล้วว่าจะต้องผ่านการยกมือ หรือว่าผ่านมติในที่ประชุม ทักษิณก็เลยมองไปว่า ถ้ารัฐบาลมีความมั้นคงในประเทศหรือว่ามีเสียงข้างมากก็จะต้องบริหารประเทศโดยดี ทำให้รัฐบาลมีเสถียรภาพ สิ่งที่เรามองเห็นว่าเขาได้ชักชวนหรือไม่เขาก็ซื้อหรือการใช้เงินตรา ประการที่เขาได้มาจากพรรคอื่น มาอยู่ในพรรคตัวเอง เช่น พรรคความหวังใหม่ หรือพรรคอื่นๆ ก็ได้ยุบตัวเข้ามาอยู่ในพรรค จากพรรคที่ได้คะแนนกำกึ่งกับคนอื่น เป็นพรรคที่มีขนาดใหญ่ ซึ่งมี ส.ส. หลายๆจังหวัด และเป็นส.ส.เสียงข้างมาก และก็ให้รัฐบาลมีความมั่นคงในการบริหารประเทศ เราจะต้องทำมาให้ได้ซึ่งรายได้ที่ได้รับ เราจะต้องผันเงินให้เกิดการเคลื่อนตัว เพื่อให้เกิดการลงทุน การทำงาน การวิ่งของเครื่องจักร การเงิน ทางเศรษฐกิจใครบ้างจะปฏิเสธว่าการบริหารประเทศภายใต้ พ.ต.ท.ทักษิณ ชิณวัตร ผิดพลาดตรงไหน อย่างไร ยอมรับในการทำธุรกิจ คนที่มีเงินก็สามารถที่จะลงทุนได้มาก ทำให้การพัฒนาของประเทศมีการยอมรับกับคนที่มีเงิน คนที่มีเงินเท่านั้นที่จะนำมาซึ่งความเจริญก้าวหน้า การบริหารประเทศคือการลงทุน การทำงาน ถ้าเรามองไปด้านเศรษฐกิจ
ถ้าเรามองไปด้านการปกครองเราจะต้องยอมรับ เราจะให้คนอื่นซึ่วฃงเป็นหน่วยงานอื่นมาตัดสินผู้นำประเทศ ซึ่วมีประชาชน 60 กว่าล้านคนเลือกขึ้นมา ป.ป.ช. ปปง. พวกนี้ไม่รู้มาจากไหน หรือใครแต่งตั้งขึ้นมา แล้วมาให้ตรวจสอบผู้นำประเทศที่ได้รับการแต่งตั้งจากพระเจ้าอยู่หัวและประชาชน มาตรวจสอบมาดูแลเป็นไปไม่ได้ในส่วนนี้
ดังนั้นคนส่วนใหญ่ก็มองว่าผู้นำประเทศจะต้องยอมรับในเสถียรภาพ
ด้านที่ดิฉันคิดนั้นส่วนใหญ่จะได้รับข่าวสารจากข่าวต่างๆนาๆว่ามันจะเกิดขึ้นได้อย่างไร แต่ถ้าเราคิดในทางที่ดีทักษิณนั้นเข้ามาเพื่อเหตุผลที่เราพูดถึงทักษิณเป็นเหตุความวุ่นวายที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ต่างฝ่ายต่างเรียกร้องหาความยุติธรรมให้เกิดกับบ้านเมืองแต่ว่าเราไม่รู้ เราไม่คิดเราไม่ลึกซึ้งว่าความจริงแล้วการเข้ามาเป็นผู้นำประเทศนั้นเขาเข้ามาเพื่อต้องการช่วยเหลือประเทศหรือว่ามาช่วยให้ประเทศเจริญรุ่งเรืองภายในประเทศ เลยการเข้ามาของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชิณวัตร นี้เข้ามาเพื่อช่วยเหลือในการบริหารประเทศ ในการบริหารประเทศเขาจะต้องเข้ามาโดยการเป็นส.ส. หรือว่าเป็นผู้นำประเทศ นายกรัฐมนตรี คือหัวหน้าพรรคโดยตามเกียรติ ตามประวัติแล้ว หัวหน้าพรรคก็มาเป็นนายกรัฐมนตรีและจะต้องผ่านการเลือกตั้ง โดยมีคะแนนสูงสุดในการเลือกตั้ง และจะต้องเป็นคนจัดตั้งรัฐบาล เมื่อเขาได้รับการคัดเลือกให้ผ่านการคัดเลือกจากประชาชน ซึ่งมีรัฐธรรมนูญปี 2540 บังคับใช้ เขาก็ได้จัดตั้งรัฐบาล พอได้จัดตั้งรัฐบาลคนที่ได้เป็นนายกก็คือ พ.ต.ท.ทักษิณ ชิณวัตร เมื่อเขาได้เป็นนายกเขาได้ไปเรียนรู้การบริหารบ้านเมือง คือจะต้องมีผู้นำประเทศที่เฉลียวฉลาด เก่งในทุกๆด้าน ทำให้การบริหารประเทศการตัดสินใจอะไรบางอย่างก็ต้องผ่านสภา ฝ่ายคณะรัฐมนตรี เราจะต้องฟังเสียงข้างมากในการบริหารประเทศ ครั้งนี้การบริหารประเทศของรัฐธรรมนูญปี2540 ทักษิณก็แล้วว่าจะต้องผ่านการยกมือ หรือว่าผ่านมติในที่ประชุม ทักษิณก็เลยมองไปว่า ถ้ารัฐบาลมีความมั้นคงในประเทศหรือว่ามีเสียงข้างมากก็จะต้องบริหารประเทศโดยดี ทำให้รัฐบาลมีเสถียรภาพ สิ่งที่เรามองเห็นว่าเขาได้ชักชวนหรือไม่เขาก็ซื้อหรือการใช้เงินตรา ประการที่เขาได้มาจากพรรคอื่น มาอยู่ในพรรคตัวเอง เช่น พรรคความหวังใหม่ หรือพรรคอื่นๆ ก็ได้ยุบตัวเข้ามาอยู่ในพรรค จากพรรคที่ได้คะแนนกำกึ่งกับคนอื่น เป็นพรรคที่มีขนาดใหญ่ ซึ่งมี ส.ส. หลายๆจังหวัด และเป็นส.ส.เสียงข้างมาก และก็ให้รัฐบาลมีความมั่นคงในการบริหารประเทศ เราจะต้องทำมาให้ได้ซึ่งรายได้ที่ได้รับ เราจะต้องผันเงินให้เกิดการเคลื่อนตัว เพื่อให้เกิดการลงทุน การทำงาน การวิ่งของเครื่องจักร การเงิน ทางเศรษฐกิจใครบ้างจะปฏิเสธว่าการบริหารประเทศภายใต้ พ.ต.ท.ทักษิณ ชิณวัตร ผิดพลาดตรงไหน อย่างไร ยอมรับในการทำธุรกิจ คนที่มีเงินก็สามารถที่จะลงทุนได้มาก ทำให้การพัฒนาของประเทศมีการยอมรับกับคนที่มีเงิน คนที่มีเงินเท่านั้นที่จะนำมาซึ่งความเจริญก้าวหน้า การบริหารประเทศคือการลงทุน การทำงาน ถ้าเรามองไปด้านเศรษฐกิจ
ถ้าเรามองไปด้านการปกครองเราจะต้องยอมรับ เราจะให้คนอื่นซึ่วเป็นหน่วยงานอื่นมาตัดสินผู้นำประเทศ ซึ่งมีประชาชน 60 กว่าล้านคนเลือกขึ้นมา ปปช. ปปง. พวกนี้ไม่รู้มาจากไหน หรือใครแต่งตั้งขึ้นมา แล้วมาให้ตรวจสอบผู้นำประเทศที่ได้รับการแต่งตั้งจากพระเจ้าอยู่หัวและประชาชน มาตรวจสอบมาดูแลเป็นไปไม่ได้ในส่วนนี้
ดังนั้นคนส่วนใหญ่ก็มองว่าผู้นำประเทศจะต้องยอมรับในเสถียรภาพของเขาในภายใต้รัฐธรรมนูญปี2540 ถ้าหากเขาไม่ได้ทำการผิดในภายใต้รัฐธรรมนูญปี2540 เขาก็ได้รับความถูกต้องต่อไปโดยมีศาลเป็นผู้ตัดสิน และในขณะเดียวกันเราต้องยอมรับข้อดีของท่าน ข้อดีของการบริหารแบบเบ็ดเสร็จ คือการทำโครงงาน โครงการต่างๆ กล้าคิดกล้าทำ กล้าตัดสินใจได้เลยโดยผ่าน ครม. รัฐสภาได้ง่าย และเป็นไปได้อย่างราบรื่นและรุ่งเรืองหรือว่าไม่รุ่งเรืองก็ว่ากันไปตามกฎ ตามระเบียบของการบริหารประเทศ แต่ในข้อเสียก็คือ การใช้อำนาจในทางที่ผิดหรือเบ็ดเสร็จ ไม่รู้จักฟังเหตุ ฟังผลของฝ่ายค้าน ทำให้เกิดปัญหาขึ้น อย่างไรก็ตามหลักสำคัญอยู่ที่การบริหารประเทศให้มี่ความเจริญรุ่งเรืองประชาชนมีความสุขความเจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงาน มีเงินทอง มีทุกอย่างที่ประชาชนต้องการ
ในกรณีที่เกิดความวุ่นวายในยุคที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชิณวัตร เป็นนายก ในสมัยแรกจะไม่มีความความวุ่นวาย สมัยต่อมาเกิดความวุ่นวาย เพราะได้รับผลได้ ผลเสีย หรือการขัดผลประโยชน์ของผู้นำหรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ดังนั้นการขัดผลประโยชน์นี้เขาก็มองลึกซึ้งแล้ว ถ้าไม่กระทำแบบนี้ไม่พยายามก็มวลชน ให้เกิดสถานการอย่างนี้ ซึ่งใช้รัฐธรรมนูญปี2540 สามารถที่จะโค่นล้ม พ.ต.ท.ทักษิณ ชิณวัตร ลงจากตำแหน่งได้ และจะต้องใช้มวลชนในการก่อความไม่สงบ ซึ่งจะเห็นในปัจจุบันนี้ที่กำลังทำอยู่ก็คือ กำลังแข่งขันกีฬาสี เสื้อเหลือง แดง น้ำเงิน หรือว่าสีขาว ซึ่งถามว่ากรณีที่เกิดความวุ่นวายครั้งนี้ เกิดจาก พ.ต.ท.ทักษิณ ชิณวัตรหรือไม่ ใครบ้างจะตอบได้เต็มปากเต็มคำ ก็เสื้อเหลืองไง และใครที่จะตอบได้ว่าความวุ่นวายนี้เกิดจากเสื้อเหลือง ก็สีแดงไงที่ตอบได้
ถามว่าผลดี ผลร้ายของการเกิดความวุ่นวาย ต้องยอมรับว่าประเทศชาติเกิดความวุ่นวายอย่างแน่นอนดังนั้นถ้าจะไปบอกกับครูพันธ์ใหม่ ในการสอนผู้เรียนที่จะเกิดความเป็นผู้นำที่ดีได้ การเป็นผู้นำเราจะต้องยอมรับ และมีอำนาจในการตัดสินใจ โดยฟังความจากผู้อื่น นั้นคือผู้นำที่ได้ผ่านการคัดเลือกอย่างประชาธิปไตย เสียงข้างมากเราต้องยอมรับในทัศนะที่เราทำงานอยู่ แต่เราต้องทำงานอยู่บนพื้นฐานของส่วนรวม
ข้อที่ 2 การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนที่จะให้มีประสิทธิภาพท่านจะมีวิธีคิดอย่างไรหากท่านเป็นครูที่ดีควรเตรียมการเป็นที่ครูที่ดีอย่างไรให้ท่านแสดงความคิดเห็นของท่านเอง
ตอบ ดิฉันคิดว่าการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นที่ผู้เรียนเป็นสำคัญ จะช่วยพัฒนาผู้เรียนในทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา ทั้งด้านความรู้ ทักษะและเจตคติ (ลักษณะนิสัย) และทั้งด้าน IQ (Intelligence Quotient) และด้าน EQ (Emotional Quotient) ซึ่งจะนำไปสู่ความเป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุข
ความสำคัญด้วยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 โดยเฉพาะในหมวดที่ 4 แนวทางการจัดการศึกษา มาตรา 22 ได้กล่าวไว้ว่า
“การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ”
ดังนั้นดิฉันคิดว่าผู้สอนทุกคนจึงจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนบทบาทของตนเองจากการเป็นผู้บอกความรู้ให้จบไปในแต่ละครั้งที่เข้าสอนมาเป็นผู้เอื้อ อำนวยความสะดวก(Facilitator)ในการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนกล่าวคือเป็นผู้กระตุ้นส่งเสริมสนับสนุนจัดสิ่งเร้าและจัดกิจกกรมให้ผู้เรียน เกิดการพัฒนาให้เต็มตามศักยาภาพ ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของแต่ละบุคคล การจัดกิจกรรมจึงต้องเป็นกิจกรรมที่ ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ สร้างสรรค์ศึกษาและค้นคว้าได้ลงมือปฏิบัติจนเกิดการเรียนรู้และค้นพบความรู้ด้วยตนเองเป็นสาระ ความรู้ ด้วยตนเอง รักการอ่าน รักการเรียนรู้อันจะนำไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต(Long-life Education) และเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ (Learning Man ) ผู้สอนจึงต้องสอนวิธีการแสวงหาความรู้ (Learn how to learn ) มากกว่าสอนตัวความรู้ สอนการคิดมากกว่าสอนให้ท่องจำสอนโดยเน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ มากกว่าเน้นที่เนื้อหาวิชา
ต้องปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ใหม่จากการเอาวิชาเป็นตัวตั้งไปสู่การเอาคนและสถานการณ์จริงเป็นตัวตั้ง เรียนจาก ประสบการณ์และกิจกรรม จากการฝึกหัดจากการตั้งคำถามและจากการแสวงหาคำตอบซึ่งจะทำให้สนุก ฝึกปัญญาให้ ้กล้าแข็ง ทำงานเป็น ฝึกคุณลักษณะอื่น ๆ เช่น ความอดทน ความรับผิดชอบ การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน การรวมกลุ่ม การจัดการ การรู้จักตน
จึงเห็นได้ว่า “การสอนโดยเน้นที่ผู้เรียนเป็นสำคัญ จะช่วยพัฒนาผู้เรียนในทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา ทั้งด้านความรู้ทักษะ และเจตคติ (ลักษณะนิสัย) และทั้งด้าน IQ (Intelligence Quotient) และด้าน EQ (Emotional Quotient) ซึ่งจะนำไปสู่ความเป็น คนเก่ง คนดีและความสุข”ตามเป้าหมายการจัดการศึกษาในปัจจุบัน
การเตรียมการเป็นครูที่ดี
1เป็นผู้มีความรอบรู้ดี การเป็นผู้มีความรอบรู้
2. เป็นผู้มีอารมณ์ขัน การเป็นผู้มีอารมณ์ขัน
3. การเป็นผู้มีความยืดหยุ่น หมายถึง การเป็นผู้ที่มีความรู้สึกไวต่อการเปลี่ยนแปลงแก้ไขปรับเปลี่ยน
4. เป็นผู้มีวิญญาณครู บุคคลที่มีวิญญาณครูโดยแท้จริงแล้ว จะเป็นผู้ที่มีความ รักในตัวเด็กและยินดีในภารกิจทางการสอน
5. เป็นผู้มีความซื่อสัตย์ การมีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นคุณลักษณะที่สำคัญมากสำหรับคนทุกคนโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่เป็นครูอาจารย์ ครูอาจารย์ที่มีความซื่อสัตย์จริงใจเมื่อบอกนักเรียนว่าจะทำอะไรก็จะพยายามทำสิ่งนั้นให้สำเร็จ
6. เป็นผู้สามารถทำให้เข้าใจได้รวบรัดชัดเจน
7. เป็นคนเปิดเผย การเป็นเปิดเผย คือ การเป็นคนที่เต็มใจจะเปิดเผยเรื่องราวที่ตนมีอยู่ให้ผู้อื่นรับรู้ ครูอาจารย์ที่เปิดเผยสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตของตนเพื่อแสดงเป็นตัวอย่างหรือเปิดเผยความรู้สึกในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือในสถานการณ์ที่กำหนด
8. เป็นผู้มีความอดทน
9. เป็นผู้กระทำตนเป็นแบบอย่างที่ดีงาม ครูอาจารย์ควรเป็นบุคคลที่กระทำตนให้เป็นแบบอย่างที่ดีเป็นพิเศษ
10. เป็นผู้ที่มีความสามารถนำความรู้ทางทฤษฎีไปปฏิบัติได้
11. เป็นผู้มีความเชื่อมั่นในตนเอง
12. เป็นผู้มีความสามารถพิเศษในศิลปะและวิทยาการหลายๆ ด้าน
ข้อที่ 3 ในฐานะท่านเป็นครูพันธ์ใหม่ ท่านจะนำนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนมาใช้การเรียนการสอนแบบใหม่ได้อย่างไร
ตอบ ดิฉันคิดว่าความสำคัญของนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน ก็คือ สามารถนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในวงการศึกษาสรุปได้ ดังนี้
- การสร้างGspเพื่อใช้ในการเรียนการสอน
- การใช้งานของมัลติมิเดีย เช่น การสร้างรูปทรงทางเรขาคณิต รูปสามเหลี่ม สี่เหลี่ยมต่างๆ
- มีการเรียนรู้ทาง web blog เพื่อให้ทันสมัย
1. เพื่อนำนวัตกรรมมาใช้แก้ปัญหาในเรื่องการเรียนการสอน เช่น
1.1 ปัญหาเรื่องวิธีการสอน ปัญหาที่มักพบอยู่เสมอ คือ ครูส่วนใหญ่ยังคง
ยึดรูปแบบการสอนแบบบรรยาย โดยมีครูเป็นศูนย์กลางมากกว่าการสอนในรูปแบบอื่น การสอนด้วยวิธีการแบบนี้เป็นการสอนที่ขาดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในบั้นปลาย เพราะนอกจากจะทำให้นักเรียนเกิดความเบื่อหน่าย ขาดความสนใจแล้ว ยังเป็นการปิดกั้นความคิด และสติปัญญาของผู้เรียนให้อยู่ในขอบเขตจำกัดอีกด้วย
1.2 ปัญหาด้านเนื้อหาวิชา บางวิชาเนื้อหามาก และบางวิชามีเนื้อหาเป็น
นามธรรมยากแก่การเข้าใจ จึงจำเป็นจะต้องนำเทคนิคการสอนและสื่อมาช่วย
1.3 ปัญหาเรื่องอุปกรณ์การสอน บางเนื้อหามีสื่อการสอนเป็นจำนวนน้อย
ไม่เพียงพอต่อการนำไปใช้ เพื่อทำให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชาได้ง่ายขึ้นจึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาคิดค้นหาเทคนิควิธีการสอน และผลิตสื่อการสอนใหม่ ๆ เพื่อนำมาใช้ทำให้การเรียนการสอนบรรลุเป้าหมายได้ 2. เพื่อนำนวัตกรรมไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและเป็นประโยชน์ต่อการศึกษา โดยการนำสิ่งประดิษฐ์หรือแนวความคิดใหม่ ๆ ในการเรียนการสอนนั้นเผยแพร่ไปสู่ครู – อาจารย์ท่านอื่น ๆ หรือเพื่อเป็นตัวอย่างอีกรูปแบบหนึ่งให้กับครู – อาจารย์ที่สอนในวิชาเดียวกัน ได้นำแนวความคิดไปปรับปรุงใช้หรือผลิตสื่อการสอนใหม่ ๆ เพื่อนำมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนต่อไป
ข้อที่ 4 การประกันคุณภาพมีความสำคัญต่อการบริหารจัดการในชั้นเรียนได้อย่างไร
ตอบ มีความสำคัญต่อการจัดการเรียนการสอนมีหลายๆรูปแบบ ทำให้ยกระดับหรือมาตรฐานโรงเรียนและได้มีการแข่งขันในการบริหารจัดการเรียนการสอนเพื่อต้องการมีการประกันคุณภาพที่ดีขึ้น ซึ่งส่งผลต่อเด็กนักเรียนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นด้วย และได้รับความไว้วางใจจากผู้ปกครองที่จะให้เด็กได้ไปเรียนในโรงเรียนที่ประกันคุณภาพ
ข้อที่ 5 ให้ผู้เรียนประเมินผู้สอนทั้งข้อดีข้อเสียและข้อเสนอแนะเพื่อที่จะนำไปปรับปรุงการเรียนการสอนต่อไป
ตอบ
ข้อดี
- ทำให้เด็กได้ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย
- ครูสอนให้เด็กสามารถใช้ web blog ในการเก็บข้อมูลต่างๆเพื่อใช้ในวันข้างหน้า เช่น การวิจัย
- ครูสอนให้เด็กได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
- ทำให้เด็กได้มีความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ web blog
ข้อเสีย
- เด็กฟังอาจารย์อธิบายไม่ทันในการเรียนการสอนในบางครั้ง
- เด็กที่ไม่มี notebook ทำให้เครียดในการสั่งงานของอาจารย์ เพราะรู้สึกว่าจะเรียนไม่ทันเพื่อน
- มีเวลาน้อยเกินไปในการทำงาน
- สัญญาณwirelessชอบหลุดทำให้การเรียนการสอนต้องติดขัด จึงทำให้ส่งงานล้าช้า
- อาจารย์สั่งงานเยอะ
ข้อเสนอแนะ
- อยากให้อาจารย์ไปสอนห้องที่มีคอมพิวเตอร์
- อยากให้ครูพานักศึกษาไปลงโรงเรียนเพื่อดูการจัดการเรียนการสอนในชีวิตจริง
วันพุธที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
การบริหารจัดการในชั้นเรียน
การบริหารจัดการในชั้นเรียน
การเตรียมตนเองของครูแกนนำเพื่อเป็นครูต้นแบบ
ตอนที่ 1 เกณฑ์การประเมินนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
1.ความเป็นนวัตกรรม
วิธีการ กระบวนการใหม่
2. กระบวนการพัฒนานวัตกรรม
2.1 วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการพัฒนานวัตกรรม
2.2 การใช้หลักการ แนวคิด หรือทฤษฏีในการพัฒนานวัตกรรม
2.3 การออกแบบพัฒนานวัตกรรม
2.4 กระบวนการพัฒนานวัตกรรม
2.5 การมีส่วนร่วมในการพัฒนานวัตกรรม
2.6 ความสำเร็จของการพัฒนานวัตกรรม การเตรียมตนเองของครูแกนนำเพื่อเป็นครูต้นแบบ
ตอนที่ 1 เกณฑ์การประเมินนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
1.ความเป็นนวัตกรรม
วิธีการ กระบวนการใหม่
2. กระบวนการพัฒนานวัตกรรม
2.1 วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการพัฒนานวัตกรรม
วัตถุประสงค์และเป้าหมายสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการ
มีความเป็นไปได้และสามารถวัดได้
การเตรียมตนเองของครูแกนนำเพื่อเป็นครูต้นแบบ
ตอนที่ 1 เกณฑ์การประเมินนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
2. กระบวนการพัฒนานวัตกรรม
2.2 การใช้หลักการ แนวคิด หรือทฤษฏีในการพัฒนานวัตกรรม
มีการสังเคราะห์หลักการ แนวคิด ทฤษฏี มาประยุกต์ใช้ได้สอดคล้องกับ
สภาพปัญหา หรือความต้องการในการพัฒนานวัตกรรมการเตรียมตนเองของครูแกนนำเพื่อเป็นครูต้นแบบ
2. กระบวนการพัฒนานวัตกรรม
2.3 การออกแบบพัฒนานวัตกรรม
มีการออกแบบนวัตกรรมที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาหรือความต้องการ
บริบท หลักการ แนวคิด ทฤษฏี ครอบคลุมกระบวนการพัฒนาและ
มีความเป็นไปได้ การเตรียมตนเองของครูแกนนำเพื่อเป็นครูต้นแบบ
ตอนที่ 1 เกณฑ์การประเมินนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
2. กระบวนการพัฒนานวัตกรรม
2.4 กระบวนการพัฒนานวัตกรรม
ดำเนินการพัฒนานวัตกรรมตามที่ออกแบบไว้ครบทุกขั้นตอน และ/หรือ
มีการปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การเตรียมตนเองของครูแกนนำเพื่อเป็นครูต้นแบบ
ตอนที่ 1 เกณฑ์การประเมินนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
2. กระบวนการพัฒนานวัตกรรม
2.5 การมีส่วนร่วมในการพัฒนานวัตกรรม
ผู้เกี่ยวข้องทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียนมีส่วนร่วมในการวางแผนการ
ดำเนินการประเมินและสรุปผล การเตรียมตนเองของครูแกนนำเพื่อเป็นครูต้นแบบ
ตอนที่ 1 เกณฑ์การประเมินนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
2. กระบวนการพัฒนานวัตกรรม
2.6 ความสำเร็จของการพัฒนานวัตกรรม
การพัฒนานวัตกรรมได้ดำเนินการเสร็จสิ้น มีการเผยแพร่และสร้างเครือข่าย 3.คุณค่าของนวัตกรรม
3.1 การแก้ปัญหาหรือพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
แก้ปัญหาหรือพัฒนาผู้เรียนได้ตรงตามวัตถุประสงค์
และเป้าหมาย เกิดประโยชน์อย่างกว้างขวาง
3.2 การใช้ทรัพยากรในการพัฒนานวัตกรรม
ประยุกต์ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในการพัฒนานวัตกรรม
ได้เหมาะสม คุ้มค่า และสอดคล้องกับบริบทของ
โรงเรียน 3.3 การเรียนรู้ร่วมกัน
กระบวนการพัฒนานวัตกรรมก่อให้เกิดประสบการณ์
และการเรียนรู้ร่วมกันทั้งโรงเรียน 3.4 การส่งเสริมให้เกิดกระบวนการ
นวัตกรรม/กระบวนการพัฒนานวัตกรรม ส่งเสริม
กระตุ้นให้ผู้พัฒนา/ผู้เกี่ยวข้องศึกษาค้นคว้าและแสวงหา
ความรู้เพิ่มเติม 3.5 การยอมรับ
เป็นที่ยอมรับของผู้เกี่ยวข้องทั้งในโรงเรียนและนอก
โรงเรียน 3.6 การนำไปใช้
ใช่ง่าย และสะดวกและมีขั้นตอนใช้ไม่ซับซ้อน
สามารถนำไปใช้ได้ดี
ตอนที่2. การพัฒนาเครือข่ายของครูแกนนำ
1. การบริการที่ดี
1.1 การปรับปรุงระบบบริการ
1.2 ความพึงพอใจของเครือข่ายหรือผู้เกี่ยวข้อง
2. การพัฒนาตนเองและเครือข่าย
2.1. การศึกษาค้นคว้าด้วยการเข้าประชุมอบรมทางวิชาการ
หรืออบรมสัมมนา หรือวิชาการอื่น ๆ
2.2 การรวบรวมและประมวลผลความรู้ในการพัฒนาเครือข่าย
และวิชาชีพ
2.3 การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นด้านวิชาการในเครือข่ายตอนที่2. การพัฒนาเครือข่ายของครูแกนนำ
1. การบริการที่ดี
1.1 การปรับปรุงระบบบริการ
มีการศึกษาความต้องการของเครือข่ายและนำข้อมูลมาปรับปรุง
และพัฒนาระบบบริการในเกือบทุกรายการอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่2. การพัฒนาเครือข่ายของครูแกนนำ
1. การบริการที่ดี
1.2 ความพึงพอใจของเครือข่ายหรือผู้เกี่ยวข้อง
มีเครือข่ายจำนวน 3 คนขึ้นไป มีความพึงพอใจในระดับมาก
2. การพัฒนาตนเองและเครือข่าย
2.1. การศึกษาค้นคว้าด้วยการเข้าประชุมอบรมทางวิชาการ
หรืออบรมสัมมนา หรือวิชาการอื่น ๆ
มีชั่วโมงเข้าประชุม อบรม สัมมนาไม่น้อยกว่า 20 ชั่วโมง/ปี
และมีการจัดทำเอกสารนำเสนอต่อที่ประชุม เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างน้อย
2 รายการต่อไป 2. การพัฒนาตนเองและเครือข่าย
2.2 การรวบรวมและประมวลผลความรู้ในการพัฒนาเครือข่าย
และวิชาชีพ
มีการสังเคราะห์ข้อมูลความรู้ จัดเป็นหมวดหมู่ ปรับปรุงให้ทันสมัย
รวบรวมองค์ความรู้สำคัญ เพื่อใช้ในการพัฒนางานอย่างต่อเนื่องตอนที่2. การพัฒนาเครือข่ายของครูแกนนำ
1. การบริการที่ดี
1.1 การปรับปรุงระบบบริการ
1.2 ความพึงพอใจของเครือข่ายหรือผู้เกี่ยวข้อง
2. การพัฒนาตนเองและเครือข่าย
2.1. การศึกษาค้นคว้าด้วยการเข้าประชุมอบรมทางวิชาการ
หรืออบรมสัมมนา หรือวิชาการอื่น ๆ
2.2 การรวบรวมและประมวลผลความรู้ในการพัฒนาเครือข่าย
และวิชาชีพ
2.3 การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นด้านวิชาการในเครือข่าย ตอนที่2. การพัฒนาเครือข่ายของครูแกนนำ
2. การพัฒนาตนเองและเครือข่าย
2.3 การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นด้านวิชาการในเครือข่าย
ได้ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในเครือข่าย เพื่อใช้ในการพัฒนางาน
อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง3. การทำงานเป็นทีม
3.1 การให้ความร่วมมือช่วยเหลือเครือข่าย
3.2 การแสดงบทบาทผู้นำหรือผู้ตามได้อย่างเหมาะสม
3.3 การปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และกลุ่มคนที่หลากหลาย
3.4 การเสริมแรงให้กำลังใจ ส่งเสริมสนับสนุนเครือข่าย
ในการปฏิบัติงาน 3. การทำงานเป็นทีม
3.1 การให้ความร่วมมือช่วยเหลือเครือข่าย
ให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือเครือข่าย อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง
3.2 การแสดงบทบาทผู้นำหรือผู้ตามได้อย่างเหมาะสม
แสดงบทบาทเป็นผู้นำ/ผู้ตามในการทำงานร่วมกับเครือข่าย
ได้อย่างเหมาะสมในทุกสถานการณ์
3.3 การปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และกลุ่มคนที่หลากหลาย
ใช้ทักษะการบริหารจัดการในการทำงานร่วมกับบุคคลหรือ
คณะบุคคลในหน่วยงานของตนหรือต่างหน่วยงานได้ทุกกลุ่ม
อย่างมีประสิทธิภาพในเกือบทุกสถานการณ์ 3.4 การเสริมแรงให้กำลังใจ ส่งเสริมสนับสนุนเครือข่าย
ในการปฏิบัติงาน
ให้เกียรติยกย่อง ชมเชย ให้กำลังใจเครือข่าย เพื่อร่วมงานใน
โอกาสต่าง ๆ อย่างเหมาะสมและทุกครั้ง คุณภาพการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูแกนนำ
การออกแบบการสอน
1.1 การออกแบบการสอนที่สอดคล้องกับหลักสูตรโรงเรียน
1.2 ความสามารถในการออกแบบการเรียนรู้
1.3 การนำผลการออกแบบการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
1.4 องค์ประกอบของแผนการสอน คุณภาพการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูแกนนำ
การออกแบบการสอน
1.1 การออกแบบการสอนที่สอดคล้องกับหลักสูตรโรงเรียน
กำหนดผลการเรียนรู้ที่เน้นการคิด
กำหนดผลการเรียนรู้ที่เน้นการคิดวิเคราะห์
ประยุกต์ริเริ่มได้สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่กำหนดในหลักสูตร
สถานศึกษาเหมาะสมกับสาระการเรียนรู้ความสามารถของผู้เรียน
กิจกรรมการเรียนรู้สะท้อนความสามารถตามผลการเรียนรู้อย่าง
ชัดเจนเป็นรูปธรรม
การประเมินผลต่อเนื่องมีสอดคล้องกับผลการเรียนรู้คุณภาพการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูแกนนำ
1.2 ความสามารถในการออกแบบการเรียนรู้
ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างหลากหลาย ส่งผลให้ผู้เรียน
ได้พัฒนาตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์
ประยุกต์ริเริ่มได้เหมาะสมกับวัยตรงตามความต้องการของผู้เรียน
และชุมชน ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกำหนดกิจกรรมการเรียนการสอน
และการวัดผลประเมินผลการเรียน 1.3 การนำผลการออกแบบการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
แผนการสอนที่ออกแบบสามารถนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
ได้จริง มีการปรับใช้ตามสถานการณ์อย่างเหมาะสมและเกิดผลตาม
ที่คาดหวัง มีการประเมินผลการออกแบบการเรียนรู้สม่ำเสมอ 1.4 องค์ประกอบของแผนการสอน
ออกแบบการเรียนรู้ทั้งในระดับหน่วยการเรียน แผนการสอนโดย
คำนึงถึงผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ระบุกิจกรรมการเรียนการสอน
สื่อ อุปกรณ์ การวัดผลประเมินผล ภาคผนวกมีใบงาน ใบความรู้
ที่ชัดเจนสอดคล้องกับองค์ประกอบคุณภาพของการจัดการเรียนการสอน
2. การบริหารจัดการในชั้นเรียน
2.1 การจัดสภาพและบรรยากาศของห้องเรียน
ให้เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
2.2 การจัดทำข้อมูลสารสนเทศและเอกสาร
ประจำชั้นเรียน/ประจำวิชาคุณภาพของการจัดการเรียนการสอน
2. การบริหารจัดการในชั้นเรียน
2.1 การจัดสภาพและบรรยากาศของห้องเรียน
ให้เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ห้องเรียนสะอาดเป็นระเบียบ
มีป้ายนิเทศ สื่อการเรียนรู้หรือมุมวิชาการสำหรับศึกษาค้นคว้าเป็นปัจจุบัน
บรรยากาศในห้องเรียนเน้นให้นักเรียนเกื้อกูลช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
การมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูกับนักเรียน
นักเรียนกระตือรือร้นในการเรียนและมีความสุขในการเรียน คุณภาพของการจัดการเรียนการสอน
2. การบริหารจัดการในชั้นเรียน
2.2 การจัดทำข้อมูลสารสนเทศและเอกสารประจำชั้นเรียน/ประจำวิชา
จัดทำข้อมูลสารสนเทศที่จำเป็นประจำห้องเรียน/วิชาได้ครบถ้วน ถูกต้อง
เป็นปัจจุบัน
มีการนำข้อมูลสารสนเทศไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนได้อย่างเต็มศักยภาพ
3. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
3.1 การนำเข้าสู่บทเรียน
3.2 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
3.2.1 ลำดับขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
3.2.2 การใช้สื่อการเรียนการสอน
3.2.3 การวัดผลประเมินผลการจัดการเรียนการสอน
3.2.4 พฤติกรรมการสอนของครู
3.3 การสรุปผลการเรียนการสอน
3. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
3.1 การนำเข้าสู่บทเรียน
มีการแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
มีกิจกรรมนำเข้าสู่บทเรียนโดยการเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ได้อย่างเหมาะสม
นักเรียนแสดงความสนใจที่จะเรียนรู้ต่อไปอย่างชัดเจน
3. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
3.2 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
3.2.1 ลำดับขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามลำดับขั้นตอนให้บรรลุวัตถุประสงค์
ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้โดยใช้สื่อ แหล่งเรียนรู้
ใช้วิธีการหาความรู้หลากหลายโดยนักเรียนลงมือปฏิบัติเอง
นักเรียนใช้กระบวนการกลุ่มเพื่อการเรียนรู้
นักเรียนมีการสร้างและสรุปความรู้ด้วยตนเอง
นักเรียนมีการประเมินผลและปรับปรุงข้อสรุปของความรู้
3. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอ
3.2 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอ
3.2.2 การใช้สื่อการเรียนการสอน
มีสื่อการเรียนการสอนที่นักเรียนมีส่วนร่วมในการคิด สร้างและใช้
เพื่อการสร้างความรู้ สรุปความรู้
นักเรียนมีการสร้างผลงาน/ชิ้นงาน
ครูใช้สื่อเป็นตัวกระตุ้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้หรือขยายความรู้
สื่อที่ครูและนักเรียนร่วมกันใช้เป็นสื่อที่ทำให้เกิดผลการเรียนรู้
3. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
3.2 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
3.2.3 การวัดผลประเมินผลการจัดการเรียนการสอน
มีการวัดผลประเมินผลนักเรียนเป็นรายบุคคล รายกลุ่ม ตามสภาพ
จริงโดยใช้วิธีการประเมินที่หลากหลาย
มีเครื่องมีอประเมินที่มีคุณภาพเหมาะสมกับเรื่องที่ประเมิน
3. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
3.2 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
3.2.4 พฤติกรรมการสอนของครู
ครูแสดงพฤติกรรมการสอนที่บ่งบอกถึงความเป็นมิตรกับนักเรียน
มีการใช้คำถามกระตุ้นให้นักเรียนคิดวิเคราะห์
เปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้
ส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้เต็มตามศักยภาพอย่างเหมาะสมเป็น
รายบุคคล
3. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
3.3 การสรุปผลการเรียนการสอน
จัดกิจกรรมให้นักเรียนได้สรุปความรู้ นำเสนอผลงาน/ชิ้นงาน
มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับคนกลุ่มอื่น
มีการประเมินเพื่อปรับปรุงผลงาน/ชิ้นงาน
วันพุธที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2553
ใบงานที่8
ให้ผู้เรียนสรุปรายงานจากกลุ่มที่ 9-10-11-12 ลงในบล็อกของผู้เรียนอย่างย่อ ๆ
ตอบ สรุปรายงานจากกลุ่มที่ 9 เรื่อง การเขียนโครงการและการบริหารจัดการโครงการเพื่อพัฒนานักเรียนและสถานศึกษา จึงสรุปได้คือ ปัจจุบันไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานราชการ หรือองค์กรเอกชนทั่วไป จะนิยมใช้การเขียนโครงการเป็นเครื่องมือในการพัฒนาหรือแก้ไขปัญหา ดังนั้นบุคลากรในหน่วยงานทุกคน ควรมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถเขียนโครงการเพื่อเสนอของบประมาณได้ความหมายของโครงการโครงการ คือเค้าโครงของกิจกรรมที่กำหนดไว้เพื่อพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาตามความต้องการของหน่วยงาน มีลักษณะเป็นแนวทางการดำเนินงานที่บอกถึงความเป็นมา วิธีหรือขั้นตอนการดำเนินงาน ทรัพยากรที่จะใช้ รวมถึงผลสำเร็จที่ต้องการให้เกิดขึ้น เพื่อให้ผู้มีอำนาจอนุมัติ ตลอดจนผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมองเห็นภาพตลอดแนวและมีทิศทางในการดำเนินงานเดียวกันองค์ประกอบของโครงการโครงการมีองค์ประกอบหลักๆ อยู่ 2 ส่วน คือ ส่วนนำและส่วนโครงการ ซึ่งจะนำเสนอ ดังต่อไปนี้
1. ส่วนนำส่วนนำโครงการ เป็นส่วนที่เขียนเพื่อให้เข้าใจว่า โครงการนี้ชื่ออะไร มีลักษณะอย่างไร ใครเป็นผู้รับผิดชอบ และจะดำเนินการเมื่อไร โดยปกติจะอยู่ส่วนต้นของการเขียนโครงการ ประกอบด้วย
1.1 ชื่อโครงการ การเขียนชื่อโครงการควรบอกได้ว่า จะทำอะไร ทำอย่างไร เรื่องอะไร กับใคร นิยมเขียนโดยขึ้นต้นด้วยคำนาม วิธีการ และตามด้วยเรื่องที่จะทำ เช่น “ การประชุมปฏิบัติการเขียนแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ 2552 ” เป็นต้น
1.2 แผนงบประมาณ เป็นการระบุที่มาของงบประมาณ ว่าโครงการนี้ ขอใช้งบประมาณในแผนใด เช่น “เงินงบประมาณ เงินอุดหนุน เงินนอกงบประมาณ ”
1.3 สนองกลยุทธ์ เพื่อให้ทราบว่า โครงการนี้ดำเนินงานตามกลยุทธ์ข้อใดของหน่วยงาน เช่น “กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาระบบบริหารจัดการของโรสงเรียนให้มีความคล่องตัว มีประสิทธิภาพ”
1.4 ผู้รับผิดชอบโครงการ ให้ระบุชื่อ สกุลของผู้รับผิดชอบโครงการ โดยจะระบุตำแหน่งด้วยหรือไม่ก็ได้ เช่น “นางแก้ว กัลยาณี หัวหน้ากลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม”
1.5 หน่วยงานที่รับผิดชอบ ควรระบุ ถึงระดับงาน เช่น “งานแผนงาน โรงเรียนเตรียมอุดม ศึกษาพัฒนาการดอนคลัง”
1.6 ลักษณะของโครงการ โดยทั่วไปจะมี 2 ประเภท ได้แก่
1.6.1 โครงการใหม่ คือโครงการที่จัดทำขึ้นใหม่ ในปีนั้น และสามารถดำเนินการได้เสร็จภายในปีงบประมาณเดียว
1.6.2.โครงการต่อเนื่อง คือโครงการที่มีลักษณะต่อเนื่องจากปีที่แล้วมา อาจเป็นโครงการที่ไม่สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จได้ในปีเดียว หรือโครงการที่ต้องต่อยอดขยายผลไปสู่กลุ่มเป้าหมายอื่นๆ ก็ได้ เช่น “ปีที่ผ่านมาอบรมอาสมาสมัครป้องกันยาเสพติด สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีงบประมาณนี้ขยายผลโดยใช้รูปแบบและวิธีการเดิมกับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 เป็นต้น” หรือ “โครงการ 1อำเภอ 1โรงเรียน ในฝัน ที่มีการดำเนินงานเป็นช่วง ๆ เป็นต้น”
1.7 ระยะเวลาในการดำเนินงาน อาจเป็นระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ดังนี้
1.7.1 ปีงบประมาณ นับตั้งแต่ 1 ตุลาคม ของปีนั้น จนถึง 30 กันยายน ของปีถัดไป
1.7.2 ปีการศึกษา นับตั้งแต่ วันที่ 16 พฤษภาคม ของปีนั้น จนถึงวันที่ 31 มีนาคม ของปีถัดไป
2.ส่วนโครงการเป็นส่วนที่กล่าวถึง เนื้อหาของการจัดทำโครงการ ประกอบด้วย
2.1 หลักการและเหตุผล ควรบอกถึงความเป็นมา เหตุผลความจำเป็นที่จะต้องจัดทำโครงการนี้ ซึ่งอาจมาจาก
2.1.1 นโยบายของรัฐ นโยบายของหน่วยเหนือ หรือนโยบายของหน่วยงานเอง
2.1.2 ระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
2.1.3 สภาพปัญหา
2.1.4 ความต้องการในการพัฒนาควรเขียนให้กระชับ ไม่เยิ่นเย้อ ประมาณ 15-25 บรรทัด และสามารถทำให้ผู้อ่านเข้าใจและเห็นความสำคัญของการจัดทำโครงการได้ นิยมเขียนโดยภาพกว้างก่อน เช่น นโยบาย หรือปัญหา แล้วจึงลงมา ถึงตัวโครงการ
2.2 วัตถุประสงค์ เป็นหัวข้อที่สำคัญที่สุดของโครงการ ผู้อนุมัติโครงการจะพิจารณาความเหมาะสมของหัวข้อนี้เป็นพิเศษ ต้องเขียนให้ชัดเจนไม่คลุมเครือ มีความเป็นไปได้ วัดได้ เช่น “ เพื่อให้คณะครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการดอนคลัง สามารถใช้เครือข่ายสารสนเทศ สำหรับการเรียนการสอนได้”
2.3 เป้าหมาย ปัจจุบันนิยมเขียนโดยระบุปริมาณหรือคุณภาพที่ต้องการขั้นต่ำ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของ จำนวน ร้อยละ หรือระดับคุณภาพ เช่น “จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการใช้เครือข่ายสารสนเทศเพื่อการศึกษา ให้กับคณะครูโรงเรียนบ้านเปียงหลวง จำนวน 20 คน” หรือ “คณะครูโรงเรียน บ้านเปียงหลวง อย่างน้อยร้อยละ 80 สามารถใช้ระบบเครือข่ายในการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนได้ในระดับดี” เป็นต้น
2.4 กิจกรรม / ระยะเวลา มีรูปแบบการเขียนหลายแบบ อยู่ที่ว่าผู้เขียนโครงการจะเลือกใช้แบบใด เช่น ตาราง แบ่งเป็นข้อ แต่จะต้องแสดงกิจกรรม ขั้นตอน ระยะเวลา การทำงานตามลำดับ ให้เห็นว่าจะทำกิจกรรมอะไรบ้าง เมื่อไร ผู้รับผิดชอบในแต่ละรายกิจกรรมคือใครไว้อย่างชัดเจน เพราะการเพิ่ม ลด งบประมาณจะพิจารณาเป็นรายกิจกรรม ดังนั้นจึงไม่ควรเขียนขั้นตอนหรือกิจกรรมที่กว้างเกินไป เช่น “
1. เสนอโครงการ
2.อนุมัติโครงการ
3. ดำเนินการตามโครงการ
4.สรุปรายงานผล” เพราะการเขียนเช่นนี้จะไม่สามารถพิจารณาได้ว่าโครงการมีกิจกรรมอะไรบ้างเหมาะสมหรือไม่เพียงใด
2.5 งบประมาณ ต้องบอกรายละเอียดของการใช้งบประมาณแต่ละรายการให้ชัดเจนถูกต้อง เช่น ค่าห้องประชุม กี่วัน วันละเท่าไร ค่าอาหารว่าง หรืออาหารกลางวัน กี่คน กี่วัน คนละเท่าไร ค่าเอกสารกี่เล่ม เล่มละเท่าไร รวมแล้วทั้งหมดเป็นงบประมาณที่จะขอใช้เท่าใด และต้องแยกรายการงบประมาณให้ถูกต้องตามหมวดค่าใช้จ่ายด้วย ได้แก่- ค่าตอบแทน เช่น ค่าตอบแทนวิทยากร ค่าเบี้ยประชุมกรรมการ ค่าอาหารทำการนอกเวลา เป็นต้น- ค่าใช้สอย เช่น ค่าจ้างเหมาบริการ เช่น อาหารว่าง อาหารกลางวัน ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการเช่น เบี้ยเลี้ยง ค่าพาหนะ ค่าที่พัก เป็นต้น- ค่าวัสดุ เช่น วัสดุที่ใช้ในการฝึกอบรม และใช้ในการประชุม เช่น กระดาษ กรรไกร กาว แฟ้มเอกสาร เป็นต้น
2.6 การประเมินผล เป็นส่วนสำคัญที่จะทำให้ทราบว่าโครงการประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่ มากน้อยเพียงใด องค์ประกอบของการประเมินผล มีดังนี้- ตัวชี้วัดความสำเร็จ เป็นตัวตอบคำถามว่าจะวัดความสำเร็จของโครงการจากอะไร เช่น จำนวน ร้อยละ หรือเวลา เช่น “ร้อยละของคณะครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการที่สามารถใช้เครือข่ายสารสนเทศได้ในระดับดี” เป็นต้น- วิธีการ ใช้วิธีการใดในการประเมินผลโครงการ เช่น การสำรวจความคิดเห็น การสังเกต การทดสอบ เป็นต้น- เครื่องมือ เครื่องมือที่ใช้ควรสอดคล้องกับวิธีการ เช่น แบบสอบถามความคิดเห็น แบบสำรวจความพึงพอใจ แบบสังเกต แบบทดสอบ เป็นต้น
2.7 ผลที่คาดว่าจะได้รับ ต้องเขียนให้เห็นว่าจากการทำโครงการนี้จะมีผลประโยชน์ใดเกิดขึ้นบ้าง อาจเป็นผลในเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ หรือผลลัพธ์ก็ได้ เช่น “เมื่อคณะครูโรงเรียนบ้านเปียงหลวงใช้เครือข่ายสารสนเทศในการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนแล้วจะสามารถยกระดับคุณภาพของผู้เรียนให้สูงขึ้นได้”ลักษณะของโครงการที่ดี
1. ต้องสอดคล้องและสนองต่อแผนกลยุทธ์ของหน่วยงาน
2. กระชับ ไม่เยิ่นเย้อควรอยู่ระหว่าง 3-7 หน้า
3. ใช้ภาษาที่เป็นทางการและเข้าใจได้ง่าย
4. มีความเป็นไปได้
5. วัดและประเมินผลได้
6. มีองค์ประกอบครบถ้วน
7. ใช้งบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ
8. คุ้มค่า
9. แก้ไขปัญหาได้จริง
10. สำเร็จตามเวลาที่กำหนด
ตอบ สรุปรายงานจากกลุ่มที่ 9 เรื่อง การเขียนโครงการและการบริหารจัดการโครงการเพื่อพัฒนานักเรียนและสถานศึกษา จึงสรุปได้คือ ปัจจุบันไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานราชการ หรือองค์กรเอกชนทั่วไป จะนิยมใช้การเขียนโครงการเป็นเครื่องมือในการพัฒนาหรือแก้ไขปัญหา ดังนั้นบุคลากรในหน่วยงานทุกคน ควรมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถเขียนโครงการเพื่อเสนอของบประมาณได้ความหมายของโครงการโครงการ คือเค้าโครงของกิจกรรมที่กำหนดไว้เพื่อพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาตามความต้องการของหน่วยงาน มีลักษณะเป็นแนวทางการดำเนินงานที่บอกถึงความเป็นมา วิธีหรือขั้นตอนการดำเนินงาน ทรัพยากรที่จะใช้ รวมถึงผลสำเร็จที่ต้องการให้เกิดขึ้น เพื่อให้ผู้มีอำนาจอนุมัติ ตลอดจนผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมองเห็นภาพตลอดแนวและมีทิศทางในการดำเนินงานเดียวกันองค์ประกอบของโครงการโครงการมีองค์ประกอบหลักๆ อยู่ 2 ส่วน คือ ส่วนนำและส่วนโครงการ ซึ่งจะนำเสนอ ดังต่อไปนี้
1. ส่วนนำส่วนนำโครงการ เป็นส่วนที่เขียนเพื่อให้เข้าใจว่า โครงการนี้ชื่ออะไร มีลักษณะอย่างไร ใครเป็นผู้รับผิดชอบ และจะดำเนินการเมื่อไร โดยปกติจะอยู่ส่วนต้นของการเขียนโครงการ ประกอบด้วย
1.1 ชื่อโครงการ การเขียนชื่อโครงการควรบอกได้ว่า จะทำอะไร ทำอย่างไร เรื่องอะไร กับใคร นิยมเขียนโดยขึ้นต้นด้วยคำนาม วิธีการ และตามด้วยเรื่องที่จะทำ เช่น “ การประชุมปฏิบัติการเขียนแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ 2552 ” เป็นต้น
1.2 แผนงบประมาณ เป็นการระบุที่มาของงบประมาณ ว่าโครงการนี้ ขอใช้งบประมาณในแผนใด เช่น “เงินงบประมาณ เงินอุดหนุน เงินนอกงบประมาณ ”
1.3 สนองกลยุทธ์ เพื่อให้ทราบว่า โครงการนี้ดำเนินงานตามกลยุทธ์ข้อใดของหน่วยงาน เช่น “กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาระบบบริหารจัดการของโรสงเรียนให้มีความคล่องตัว มีประสิทธิภาพ”
1.4 ผู้รับผิดชอบโครงการ ให้ระบุชื่อ สกุลของผู้รับผิดชอบโครงการ โดยจะระบุตำแหน่งด้วยหรือไม่ก็ได้ เช่น “นางแก้ว กัลยาณี หัวหน้ากลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม”
1.5 หน่วยงานที่รับผิดชอบ ควรระบุ ถึงระดับงาน เช่น “งานแผนงาน โรงเรียนเตรียมอุดม ศึกษาพัฒนาการดอนคลัง”
1.6 ลักษณะของโครงการ โดยทั่วไปจะมี 2 ประเภท ได้แก่
1.6.1 โครงการใหม่ คือโครงการที่จัดทำขึ้นใหม่ ในปีนั้น และสามารถดำเนินการได้เสร็จภายในปีงบประมาณเดียว
1.6.2.โครงการต่อเนื่อง คือโครงการที่มีลักษณะต่อเนื่องจากปีที่แล้วมา อาจเป็นโครงการที่ไม่สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จได้ในปีเดียว หรือโครงการที่ต้องต่อยอดขยายผลไปสู่กลุ่มเป้าหมายอื่นๆ ก็ได้ เช่น “ปีที่ผ่านมาอบรมอาสมาสมัครป้องกันยาเสพติด สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีงบประมาณนี้ขยายผลโดยใช้รูปแบบและวิธีการเดิมกับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 เป็นต้น” หรือ “โครงการ 1อำเภอ 1โรงเรียน ในฝัน ที่มีการดำเนินงานเป็นช่วง ๆ เป็นต้น”
1.7 ระยะเวลาในการดำเนินงาน อาจเป็นระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ดังนี้
1.7.1 ปีงบประมาณ นับตั้งแต่ 1 ตุลาคม ของปีนั้น จนถึง 30 กันยายน ของปีถัดไป
1.7.2 ปีการศึกษา นับตั้งแต่ วันที่ 16 พฤษภาคม ของปีนั้น จนถึงวันที่ 31 มีนาคม ของปีถัดไป
2.ส่วนโครงการเป็นส่วนที่กล่าวถึง เนื้อหาของการจัดทำโครงการ ประกอบด้วย
2.1 หลักการและเหตุผล ควรบอกถึงความเป็นมา เหตุผลความจำเป็นที่จะต้องจัดทำโครงการนี้ ซึ่งอาจมาจาก
2.1.1 นโยบายของรัฐ นโยบายของหน่วยเหนือ หรือนโยบายของหน่วยงานเอง
2.1.2 ระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
2.1.3 สภาพปัญหา
2.1.4 ความต้องการในการพัฒนาควรเขียนให้กระชับ ไม่เยิ่นเย้อ ประมาณ 15-25 บรรทัด และสามารถทำให้ผู้อ่านเข้าใจและเห็นความสำคัญของการจัดทำโครงการได้ นิยมเขียนโดยภาพกว้างก่อน เช่น นโยบาย หรือปัญหา แล้วจึงลงมา ถึงตัวโครงการ
2.2 วัตถุประสงค์ เป็นหัวข้อที่สำคัญที่สุดของโครงการ ผู้อนุมัติโครงการจะพิจารณาความเหมาะสมของหัวข้อนี้เป็นพิเศษ ต้องเขียนให้ชัดเจนไม่คลุมเครือ มีความเป็นไปได้ วัดได้ เช่น “ เพื่อให้คณะครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการดอนคลัง สามารถใช้เครือข่ายสารสนเทศ สำหรับการเรียนการสอนได้”
2.3 เป้าหมาย ปัจจุบันนิยมเขียนโดยระบุปริมาณหรือคุณภาพที่ต้องการขั้นต่ำ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของ จำนวน ร้อยละ หรือระดับคุณภาพ เช่น “จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการใช้เครือข่ายสารสนเทศเพื่อการศึกษา ให้กับคณะครูโรงเรียนบ้านเปียงหลวง จำนวน 20 คน” หรือ “คณะครูโรงเรียน บ้านเปียงหลวง อย่างน้อยร้อยละ 80 สามารถใช้ระบบเครือข่ายในการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนได้ในระดับดี” เป็นต้น
2.4 กิจกรรม / ระยะเวลา มีรูปแบบการเขียนหลายแบบ อยู่ที่ว่าผู้เขียนโครงการจะเลือกใช้แบบใด เช่น ตาราง แบ่งเป็นข้อ แต่จะต้องแสดงกิจกรรม ขั้นตอน ระยะเวลา การทำงานตามลำดับ ให้เห็นว่าจะทำกิจกรรมอะไรบ้าง เมื่อไร ผู้รับผิดชอบในแต่ละรายกิจกรรมคือใครไว้อย่างชัดเจน เพราะการเพิ่ม ลด งบประมาณจะพิจารณาเป็นรายกิจกรรม ดังนั้นจึงไม่ควรเขียนขั้นตอนหรือกิจกรรมที่กว้างเกินไป เช่น “
1. เสนอโครงการ
2.อนุมัติโครงการ
3. ดำเนินการตามโครงการ
4.สรุปรายงานผล” เพราะการเขียนเช่นนี้จะไม่สามารถพิจารณาได้ว่าโครงการมีกิจกรรมอะไรบ้างเหมาะสมหรือไม่เพียงใด
2.5 งบประมาณ ต้องบอกรายละเอียดของการใช้งบประมาณแต่ละรายการให้ชัดเจนถูกต้อง เช่น ค่าห้องประชุม กี่วัน วันละเท่าไร ค่าอาหารว่าง หรืออาหารกลางวัน กี่คน กี่วัน คนละเท่าไร ค่าเอกสารกี่เล่ม เล่มละเท่าไร รวมแล้วทั้งหมดเป็นงบประมาณที่จะขอใช้เท่าใด และต้องแยกรายการงบประมาณให้ถูกต้องตามหมวดค่าใช้จ่ายด้วย ได้แก่- ค่าตอบแทน เช่น ค่าตอบแทนวิทยากร ค่าเบี้ยประชุมกรรมการ ค่าอาหารทำการนอกเวลา เป็นต้น- ค่าใช้สอย เช่น ค่าจ้างเหมาบริการ เช่น อาหารว่าง อาหารกลางวัน ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการเช่น เบี้ยเลี้ยง ค่าพาหนะ ค่าที่พัก เป็นต้น- ค่าวัสดุ เช่น วัสดุที่ใช้ในการฝึกอบรม และใช้ในการประชุม เช่น กระดาษ กรรไกร กาว แฟ้มเอกสาร เป็นต้น
2.6 การประเมินผล เป็นส่วนสำคัญที่จะทำให้ทราบว่าโครงการประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่ มากน้อยเพียงใด องค์ประกอบของการประเมินผล มีดังนี้- ตัวชี้วัดความสำเร็จ เป็นตัวตอบคำถามว่าจะวัดความสำเร็จของโครงการจากอะไร เช่น จำนวน ร้อยละ หรือเวลา เช่น “ร้อยละของคณะครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการที่สามารถใช้เครือข่ายสารสนเทศได้ในระดับดี” เป็นต้น- วิธีการ ใช้วิธีการใดในการประเมินผลโครงการ เช่น การสำรวจความคิดเห็น การสังเกต การทดสอบ เป็นต้น- เครื่องมือ เครื่องมือที่ใช้ควรสอดคล้องกับวิธีการ เช่น แบบสอบถามความคิดเห็น แบบสำรวจความพึงพอใจ แบบสังเกต แบบทดสอบ เป็นต้น
2.7 ผลที่คาดว่าจะได้รับ ต้องเขียนให้เห็นว่าจากการทำโครงการนี้จะมีผลประโยชน์ใดเกิดขึ้นบ้าง อาจเป็นผลในเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ หรือผลลัพธ์ก็ได้ เช่น “เมื่อคณะครูโรงเรียนบ้านเปียงหลวงใช้เครือข่ายสารสนเทศในการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนแล้วจะสามารถยกระดับคุณภาพของผู้เรียนให้สูงขึ้นได้”ลักษณะของโครงการที่ดี
1. ต้องสอดคล้องและสนองต่อแผนกลยุทธ์ของหน่วยงาน
2. กระชับ ไม่เยิ่นเย้อควรอยู่ระหว่าง 3-7 หน้า
3. ใช้ภาษาที่เป็นทางการและเข้าใจได้ง่าย
4. มีความเป็นไปได้
5. วัดและประเมินผลได้
6. มีองค์ประกอบครบถ้วน
7. ใช้งบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ
8. คุ้มค่า
9. แก้ไขปัญหาได้จริง
10. สำเร็จตามเวลาที่กำหนด
วันอังคารที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2553
ผู้นำในดวงใจ
ประวัติ
นายชวน หลีกภัย เกิดเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 ที่ตำบลท้ายพรุ อำเภอเมือง จังหวัดตรัง เป็นบุตรคนที่ 3 ในจำนวน 9 คน ของนายนิยม หลีกภัย และนางถ้วน หลีกภัย เมื่อยังเด็ก นายชวนมีชื่อเรียกในครอบครัวว่า "เอียด" หมายถึง เล็ก เนื่องจากเป็นคนรูปร่างเล็ก
มีบุตรชายกับนางภักดิพร สุจริตกุล หนึ่งคน คือ นายสุรบถ หลีกภัย
นายชวน หลีกภัย เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสองสมัย สมัยแรกระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 (ครม.คณะที่ 50) สมัยที่สองระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 (ครม.คณะที่ 53) และเคยดำรงตำแหน่งเป็น หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ติดต่อกัน 3 สมัย ระหว่างปี พ.ศ. 2534-2546 เป็นเวลารวม 12 ปี
ประวัติการศึกษา และวุฒิกิตติมศักดิ์
ประถมศึกษา โรงเรียนวัดควนวิเศษ จังหวัดตรัง
มัธยมศึกษา โรงเรียนมัธยมวัดควนวิเศษ และโรงเรียนตรังวิทยา
สำเร็จการศึกษาโรงเรียนศิลปศึกษา แผนกจิตรกรรมและประติมากรรม เตรียมมหาวิทยาลัยศิลปากร (วิทยาลัยช่างศิลป์ ในปัจจุบัน)
พ.ศ. 2505 นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
พ.ศ. 2507 เนติบัณฑิต สำนักอบรมศึกษาทางกฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา สมัยที่ 17
พ.ศ. 2528 ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทางรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
พ.ศ. 2530 ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทางรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
พ.ศ. 2536 ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทางนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟิลิปปินส์
พ.ศ. 2537 ดุษฎีบัณฑิต สาขาวรรณกรรม (ภาพเขียน) มหาวิทยาลัยศิลปากร
พ.ศ. 2541 นิติศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล
พ.ศ. 2542 ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัย San Marcos สาธารณรัฐเปรู
พ.ศ. 2548 รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (สาขาการเมืองการปกครอง) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
พ.ศ. 2552 นิติศาสตร์คุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประวัติการทำงาน
นายชวน หลีกภัยได้เริ่มต้นชีวิตการทำงานโดยการเป็นทนายความ และต่อมาได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดตรัง ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้มาเป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ในปี พ.ศ. 2534 ชวน หลีกภัย ได้เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการมาหลายกระทรวง ซึ่งได้แก่ กระทรวงยุติธรรม กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงสาธารณสุข รวมถึง รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ประธานสภาผู้แทนราษฎร และผู้นำฝ่ายค้าน ในปี พ.ศ. 2533 ชวน หลีกภัย ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นรองนายกรัฐมนตรี และต่อมาในปี พ.ศ. 2535 ได้ขึ้นดำรงตำแหน่ง นายกรัฐมนตรี สมัยที่ 1 และวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยที่ 2 พร้อมควบตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ทั้งนี้นับตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา นายชวนเป็นพลเรือนคนที่สอง นับจาก ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช ที่ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงนี้
บทบาททางการเมืองภายหลังพ้นตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
หลังจากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544 นายชวน หลีกภัย กลับมาเป็นผู้นำฝ่ายค้านอีกครั้ง เมื่อ 14 มีนาคม พ.ศ. 2544 และต้องการ ก้าวลงจากตำแหน่ง หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งจากการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งหัวหน้าพรรคใน 2 ปีถัดมาเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2546 นายบัญญัติ บรรทัดฐาน ได้รับเลือก เป็นหัวหน้าพรรค ทำให้รวมแล้วนายชวน หลีกภัย ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค 3 สมัยเป็นเวลาทั้งสิ้น 12 ปี
ในการเลือกตั้งครั้งถัดมาเมื่อปี พ.ศ. 2548 หลังจากที่พรรคประชาธิปัตย์ ไม่สามารถได้รับคะแนนเสียงเพียงพอ ต่อการจัดตั้งรัฐบาล แข่งกับพรรคไทยรักไทย นายบัญญัติ บรรทัดฐาน ลาออกจากตำแหน่งตัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ นายชวน หลีกภัย มีบทบาทสำคัญในการผลักดันให้ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เข้ามาดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคแทน
ปัจจุบัน นายชวน หลีกภัย ดำรงตำแหน่ง ประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์
นายชวน หลีกภัย เกิดเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 ที่ตำบลท้ายพรุ อำเภอเมือง จังหวัดตรัง เป็นบุตรคนที่ 3 ในจำนวน 9 คน ของนายนิยม หลีกภัย และนางถ้วน หลีกภัย เมื่อยังเด็ก นายชวนมีชื่อเรียกในครอบครัวว่า "เอียด" หมายถึง เล็ก เนื่องจากเป็นคนรูปร่างเล็ก
มีบุตรชายกับนางภักดิพร สุจริตกุล หนึ่งคน คือ นายสุรบถ หลีกภัย
นายชวน หลีกภัย เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสองสมัย สมัยแรกระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 (ครม.คณะที่ 50) สมัยที่สองระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 (ครม.คณะที่ 53) และเคยดำรงตำแหน่งเป็น หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ติดต่อกัน 3 สมัย ระหว่างปี พ.ศ. 2534-2546 เป็นเวลารวม 12 ปี
ประวัติการศึกษา และวุฒิกิตติมศักดิ์
ประถมศึกษา โรงเรียนวัดควนวิเศษ จังหวัดตรัง
มัธยมศึกษา โรงเรียนมัธยมวัดควนวิเศษ และโรงเรียนตรังวิทยา
สำเร็จการศึกษาโรงเรียนศิลปศึกษา แผนกจิตรกรรมและประติมากรรม เตรียมมหาวิทยาลัยศิลปากร (วิทยาลัยช่างศิลป์ ในปัจจุบัน)
พ.ศ. 2505 นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
พ.ศ. 2507 เนติบัณฑิต สำนักอบรมศึกษาทางกฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา สมัยที่ 17
พ.ศ. 2528 ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทางรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
พ.ศ. 2530 ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทางรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
พ.ศ. 2536 ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทางนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟิลิปปินส์
พ.ศ. 2537 ดุษฎีบัณฑิต สาขาวรรณกรรม (ภาพเขียน) มหาวิทยาลัยศิลปากร
พ.ศ. 2541 นิติศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล
พ.ศ. 2542 ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัย San Marcos สาธารณรัฐเปรู
พ.ศ. 2548 รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (สาขาการเมืองการปกครอง) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
พ.ศ. 2552 นิติศาสตร์คุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประวัติการทำงาน
นายชวน หลีกภัยได้เริ่มต้นชีวิตการทำงานโดยการเป็นทนายความ และต่อมาได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดตรัง ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้มาเป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ในปี พ.ศ. 2534 ชวน หลีกภัย ได้เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการมาหลายกระทรวง ซึ่งได้แก่ กระทรวงยุติธรรม กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงสาธารณสุข รวมถึง รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ประธานสภาผู้แทนราษฎร และผู้นำฝ่ายค้าน ในปี พ.ศ. 2533 ชวน หลีกภัย ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นรองนายกรัฐมนตรี และต่อมาในปี พ.ศ. 2535 ได้ขึ้นดำรงตำแหน่ง นายกรัฐมนตรี สมัยที่ 1 และวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยที่ 2 พร้อมควบตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ทั้งนี้นับตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา นายชวนเป็นพลเรือนคนที่สอง นับจาก ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช ที่ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงนี้
บทบาททางการเมืองภายหลังพ้นตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
หลังจากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544 นายชวน หลีกภัย กลับมาเป็นผู้นำฝ่ายค้านอีกครั้ง เมื่อ 14 มีนาคม พ.ศ. 2544 และต้องการ ก้าวลงจากตำแหน่ง หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งจากการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งหัวหน้าพรรคใน 2 ปีถัดมาเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2546 นายบัญญัติ บรรทัดฐาน ได้รับเลือก เป็นหัวหน้าพรรค ทำให้รวมแล้วนายชวน หลีกภัย ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค 3 สมัยเป็นเวลาทั้งสิ้น 12 ปี
ในการเลือกตั้งครั้งถัดมาเมื่อปี พ.ศ. 2548 หลังจากที่พรรคประชาธิปัตย์ ไม่สามารถได้รับคะแนนเสียงเพียงพอ ต่อการจัดตั้งรัฐบาล แข่งกับพรรคไทยรักไทย นายบัญญัติ บรรทัดฐาน ลาออกจากตำแหน่งตัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ นายชวน หลีกภัย มีบทบาทสำคัญในการผลักดันให้ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เข้ามาดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคแทน
ปัจจุบัน นายชวน หลีกภัย ดำรงตำแหน่ง ประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์
วันพฤหัสบดีที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2553
ประวัติส่วนตัว
ชื่อ นางสาวจินตนา รับไทรทอง
ชื่อเล่น บัยยานี
รหัสนักศึกษา 5011103021
จบมาจาก ร.ร. ประทีปศาสน์
ปัจจุบันศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
หลักสูตรคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์
เกิดวันที่ 18 มีนาคม 2531
กรุ๊ปเลือด โอ
ที่อยู่ 87/1 ม. 6 ต.ท่างิ้ว อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช 80280
เบอร์โทร 084-8385471
ความฝัน ครู
คติประจำใจ ฝันให้ไกล ไปให้ถึง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)